- ข้อมูลเศรษฐกิจการเกษตร
- ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร
- รายละเอียดภาวะเศรษฐกิจการเกษตร
ข้อมูลเศรษฐกิจการเกษตร
สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 19-25 เมษายน 2562
ข้าว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การตลาด
มาตรการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าวปีการผลิต 2561/62
มติที่ประชุม คณะกรรมการนโยบายและบริหารจัดการข้าว (นบข.) ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2561 เห็นชอบในหลักการมาตรการฯ ด้านการผลิตและการตลาด ทั้งหมด 10 โครงการดังนี้
(1) ด้านการผลิต* ได้แก่ 1) โครงการส่งเสริมระบบการเกษตรแบบนาแปลงใหญ่ (นาแปลงใหญ่) 2) โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวอินทรีย์ 3) โครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง 4) โครงการส่งเสริมระบบการเกษตรแบบแม่นยำสูง (Precision Farming) 5) โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพชั้นเลิศ 6) โครงการส่งเสริมการผลิตและการตลาดข้าวพันธุ์ กข 43 เพื่อสุขภาพแบบครบวงจร และ 7) โครงการปรับเปลี่ยนระบบการผลิตข้าวในพื้นที่ลุ่มต่ำ 13 ทุ่ง
หมายเหตุ * ด้านการผลิต เป็นโครงการที่หน่วยงานดำเนินการตามปกติ จึงไม่นำเข้าที่ประชุม ครม.พิจารณามาตรการฯ
(2) ด้านการตลาด
- มติที่ประชุม คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2561 อนุมัติการดำเนินโครงการและวงเงินงบประมาณที่ใช้ช่วยเหลือเกษตรกรและรักษาเสถียรภาพราคาข้าว ปีการผลิต 2561/62 ด้านการตลาด จำนวน 3 โครงการ ได้แก่ โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือกนาปีและการช่วยเหลือค่าเก็บเกี่ยวและปรับปรุงคุณภาพข้าว
2) โครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร และ 3) โครงการชดเชยดอกเบี้ยให้ผู้ประกอบการค้าข้าวในการเก็บสต็อก
- มติที่ประชุม คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2561 อนุมัติทบทวนมาตรการรักษาเสถียรภาพราคาข้าว ปีการผลิต 2561/62 โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2561/61 ตามมติคณะกรรมการ นบข. เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2561 ที่กระทรวงพาณิชย์เสนอดังนี้
(1) กรณีเกษตรกรฝากเก็บข้าวไว้ที่สหกรณ์หรือสถาบันเกษตรกร ให้ปรับปรุงให้ค่าเก็บรักษาข้าวเปลือก
ตันละ 500 บาท ปรับเป็น “ให้เกษตรกรได้รับตันละ 1,000 บาท และสหกรณ์ได้รับตันละ 500 บาท”
(2) เกษตรกรและสถาบันเกษตรกร ต้องเก็บรักษาข้าวเปลือกหลักประกันไว้ในยุ้งฉางหรือสถานที่เก็บของตนเองเท่านั้น
(3) ปรับปรุงวิธีการเก็บรักษาข้าวเปลือกของสถาบันเกษตรกร ต้องเก็บรักษาข้าวเปลือกโดยบรรจุข้าวเปลือกในกระสอบป่านหรือถุง Big bag และวางเรียงในยุ้งฉางหรือสถานที่เก็บเพื่อสะดวกในการตรวจสอบ หรือเก็บข้าวในยุ้งฉางที่ยกพื้นสูงหรือไซโล (SILO) ยกเว้นกรณีเทกองจะต้องมีระบบการระบายอากาศ เพื่อการรักษาคุณภาพข้าวเปลือกไม่ให้เสื่อมสภาพตลอดระยะเวลาโครงการ
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 15,608 บาท
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 7,870 บาท
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 34,050 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 11,690 บาท ราคาลดลงจากตันละ 11,750 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.51
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 1,130 ดอลลาร์สหรัฐฯ (35,782 บาท/ตัน)
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 407 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,888 บาท/ตัน)
ข้าวขาว 25% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 399 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,634 บาท/ตัน)
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 410 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,983 บาท/ตัน)
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 31.6651
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
เวียดนาม
ภาวะราคาข้าวขาว 5% ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ทรงตัวอยู่ที่ระดับ 360 เหรียญสหรัฐต่อตัน ติดต่อกันเป็นสัปดาห์ที่ 5 ท่ามกลางภาวะที่อุปทานข้าวในประเทศเริ่มลดลงหลังจากที่สิ้นสุดฤดูเก็บเกี่ยวข้าวในช่วงฤดูหนาว ถึงใบไม้ผลิ (Winter-Spring crop) โดยผู้ค้าข้าวต่างคาดหวังว่า ในช่วงนี้จะมีคำสั่งซื้อข้าวจากต่างประเทศเข้ามา
กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ (USDA) คาดการณ์ว่า ในปีการตลาด 2562/63 (มกราคม-ธันวาคม 2562) ประเทศเวียดนามจะมีผลผลิตข้าวเปลือกประมาณ 45.085 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 44.338 ล้านตัน ในปี 2561/62 เนื่องจากในช่วงฤดูเพาะปลูกฤดูหนาว-ฤดูใบไม้ผลิต และในช่วงฤดูการผลิตฤดูร้อน-ฤดูใบไม้ร่วง มีผลผลิตต่อพื้นที่เพาะปลูกเพิ่มขึ้น ขณะที่ ความต้องการบริโภคข้าวในปี 2562/63 คาดว่าจะมีประมาณ 22.4 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจาก 22 ล้านตัน ในปี2561/62 เนื่องจากประชากรมีจำนวนเพิ่มขึ้น ทางด้านการส่งออก คาดว่าในปี 2562/63 จะส่งออกได้ประมาณ 6.5 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 6 ล้านตัน ในปี 2561/62 เนื่องจากคาดว่าเวียดนามจะมีผลผลิตข้าวเพิ่มขึ้น
ที่มา : สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
จีน
กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ (USDA) ได้เผยแพร่ รายงานมาตรฐานข้าวแห่งชาติ (ฉบับใหม่) ของประเทศจีน (GB/T 1354-2018) ซึ่งจะมีผลตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2562 เป็นต้นไป
ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2561 หน่วยงานกำกับดูแลการตลาดของจีน (China’s State Administration for Market Regulation; SAMR) ได้เผยแพร่มาตรฐานข้าวฉบับใหม่ของจีน เลขที่ GB / T 1354-2018 เพื่อใช้แทนฉบับที่ GB / T 1354-2009 ซึ่งมาตรฐานข้าวแห่งชาติฉบับใหม่นี้ จะนำไปใช้สำหรับข้าวที่ผลิตในประเทศและนำเข้าจากต่างประเทศ โดยมีข้อกำหนดและรายละเอียดที่ไม่กว้างมากนักสำหรับข้าวแต่ละประเภท และคำศัพท์ทางเทคนิคบางอย่างในมาตรฐานนี้จะอ้างอิงตามมาตรฐานสากล เช่น Codex เป็นต้น
สำนักข่าว Reuters รายงานว่า การประมูลขายข้าวจากสต็อกของรัฐบาลที่เก็บไว้ตั้งแต่ปีการผลิต 2557 เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2562 ที่ผ่านมา ศูนย์การค้าธัญพืชแห่งชาติ (the National Grain Trade Center) สามารถขายข้าวได้จำนวน 1,660 ตัน เท่านั้น จากที่นำข้าวออกมาประมูลประมาณ 377,273 ตัน (คิดเป็นร้อยละ 0.44 ของจำนวนที่นำมาประมูล) โดยราคาประมูลเฉลี่ยที่ 2,000 หยวนต่อตัน หรือประมาณ 297.91 เหรียญสหรัฐต่อตัน
ขณะที่กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ (USDA) รายงานว่า ประเทศจีนมีการระบายข้าวเก่าจากสต็อกรัฐบาล ในช่วงตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม - 27 ธันวาคม 2561 โดยได้มีการจัดประมูลขายข้าวออกไปได้แล้วประมาณ 8.5 ล้านตัน (ไม่รวมข้าวที่ประมูลเพื่อใช้ในอุตสาหกรรม)
ที่มา : สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
กัมพูชา
กัมพูชาเตรียมนำเรื่องที่สหภาพยุโรปใช้มาตรการภาษีนำเข้าข้าวจากกัมพูชาและเมียนมา ยื่นร้องต่อศาลยุโรป หลังจากที่คณะกรรมาธิการยุโรปได้กำหนดอัตราภาษีกับข้าวที่นำเข้าจากกัมพูชาและเมียนมาเป็นระยะเวลา 3 ปี โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 18 มกราคมที่ผ่านมา ซึ่งสหภาพยุโรปได้รับการร้องเรียนเกี่ยวกับปริมาณข้าวที่นำเข้าช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ซึ่งมีปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ ส่งผลกระทบต่อผู้ผลิตในกลุ่มสหภาพยุโรปที่ส่วนใหญ่เป็นผู้ผลิตในประเทศอิตาลี โดยส่วนแบ่งการตลาดของผู้ผลิตในสหภาพยุโรปลดลงในช่วงระยะเวลาดังกล่าวจากร้อยละ 61 คงเหลือร้อยละ 29
ทางด้านสหพันธ์ข้าวกัมพูชา (Cambodia Rice Federation; CRF) ระบุว่า มาตรการป้องกันดังกล่าว ถูกนำไปใช้ในทางที่ผิดและผิดวัตถุประสงค์ของกฎหมายสหภาพยุโรป ซึ่งการกลับมากำหนดอัตราภาษีนำเข้าในครั้งนี้ ถือว่าเป็นอันตรายต่อเศรษฐกิจกัมพูชาและอุตสาหกรรมของประเทศ ส่งผลกระทบต่อประชาชนทั้งหมดของประเทศ
ทั้งนี้ ตามประกาศของสหภาพยุโรป กำหนดให้การนำเข้าข้าวจากทั้งสองประเทศถูกกำหนดอัตราภาษีที่ 175 ยูโรต่อตันในปีแรก และปรับลดลงเหลือ 150 ยูโร ในปีที่ 2 และ 125 ยูโร ในปีที่ 3
กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ (USDA) คาดการณ์ว่าในปีการตลาด 2562/63 (มกราคม-ธันวาคม 2562) ประเทศกัมพูชาจะมีผลผลิตข้าวเปลือกประมาณ 9.325 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากจำนวน 9.234 ล้านตัน ในปี 2561/62
ขณะที่การส่งออกข้าวในปี 2562/63 คาดว่าจะมีประมาณ 1.4 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากจำนวน 1.3 ล้านตัน ในปี 2561/62 ซึ่งตัวเลขส่งออกดังกล่าว รวมการส่งออกข้าวผ่านทางแนวชายแดนไปยังประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ ไทย และเวียดนามด้วย ทั้งนี้ ในส่วนของการส่งออกอย่างเป็นทางการผ่านทางท่าเรือในปี 2561/62 ที่ผ่านมา มีจำนวน 626,225 ตัน ลดลงจากปีก่อนหน้า เนื่องจากในปีที่แล้วการส่งออกข้าวไปยังประเทศจีนซึ่งเป็นตลาดหลัก มีจำนวนลดลงจากปีก่อน ขณะที่กัมพูชายังไม่สามารถหาตลาดส่งออกใหม่ได้ โดยการส่งออกข้าว ส่วนใหญ่จะเป็นข้าวในกลุ่มข้าวหอมคิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 79 ของการส่งออกทั้งหมด ตามด้วยข้าวขาวและข้าวนึ่ง ในสัดส่วนที่ไม่มากนัก
ที่มา : สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
กราฟราคาที่เกษตรกรขายได้ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% และราคาขายส่งตลาด กทม. ข้าวสารเจ้า 5%
1.1 การตลาด
มาตรการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าวปีการผลิต 2561/62
มติที่ประชุม คณะกรรมการนโยบายและบริหารจัดการข้าว (นบข.) ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2561 เห็นชอบในหลักการมาตรการฯ ด้านการผลิตและการตลาด ทั้งหมด 10 โครงการดังนี้
(1) ด้านการผลิต* ได้แก่ 1) โครงการส่งเสริมระบบการเกษตรแบบนาแปลงใหญ่ (นาแปลงใหญ่) 2) โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวอินทรีย์ 3) โครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง 4) โครงการส่งเสริมระบบการเกษตรแบบแม่นยำสูง (Precision Farming) 5) โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพชั้นเลิศ 6) โครงการส่งเสริมการผลิตและการตลาดข้าวพันธุ์ กข 43 เพื่อสุขภาพแบบครบวงจร และ 7) โครงการปรับเปลี่ยนระบบการผลิตข้าวในพื้นที่ลุ่มต่ำ 13 ทุ่ง
หมายเหตุ * ด้านการผลิต เป็นโครงการที่หน่วยงานดำเนินการตามปกติ จึงไม่นำเข้าที่ประชุม ครม.พิจารณามาตรการฯ
(2) ด้านการตลาด
- มติที่ประชุม คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2561 อนุมัติการดำเนินโครงการและวงเงินงบประมาณที่ใช้ช่วยเหลือเกษตรกรและรักษาเสถียรภาพราคาข้าว ปีการผลิต 2561/62 ด้านการตลาด จำนวน 3 โครงการ ได้แก่ โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือกนาปีและการช่วยเหลือค่าเก็บเกี่ยวและปรับปรุงคุณภาพข้าว
2) โครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร และ 3) โครงการชดเชยดอกเบี้ยให้ผู้ประกอบการค้าข้าวในการเก็บสต็อก
- มติที่ประชุม คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2561 อนุมัติทบทวนมาตรการรักษาเสถียรภาพราคาข้าว ปีการผลิต 2561/62 โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2561/61 ตามมติคณะกรรมการ นบข. เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2561 ที่กระทรวงพาณิชย์เสนอดังนี้
(1) กรณีเกษตรกรฝากเก็บข้าวไว้ที่สหกรณ์หรือสถาบันเกษตรกร ให้ปรับปรุงให้ค่าเก็บรักษาข้าวเปลือก
ตันละ 500 บาท ปรับเป็น “ให้เกษตรกรได้รับตันละ 1,000 บาท และสหกรณ์ได้รับตันละ 500 บาท”
(2) เกษตรกรและสถาบันเกษตรกร ต้องเก็บรักษาข้าวเปลือกหลักประกันไว้ในยุ้งฉางหรือสถานที่เก็บของตนเองเท่านั้น
(3) ปรับปรุงวิธีการเก็บรักษาข้าวเปลือกของสถาบันเกษตรกร ต้องเก็บรักษาข้าวเปลือกโดยบรรจุข้าวเปลือกในกระสอบป่านหรือถุง Big bag และวางเรียงในยุ้งฉางหรือสถานที่เก็บเพื่อสะดวกในการตรวจสอบ หรือเก็บข้าวในยุ้งฉางที่ยกพื้นสูงหรือไซโล (SILO) ยกเว้นกรณีเทกองจะต้องมีระบบการระบายอากาศ เพื่อการรักษาคุณภาพข้าวเปลือกไม่ให้เสื่อมสภาพตลอดระยะเวลาโครงการ
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 15,608 บาท
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 7,870 บาท
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 34,050 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 11,690 บาท ราคาลดลงจากตันละ 11,750 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.51
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 1,130 ดอลลาร์สหรัฐฯ (35,782 บาท/ตัน)
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 407 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,888 บาท/ตัน)
ข้าวขาว 25% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 399 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,634 บาท/ตัน)
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 410 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,983 บาท/ตัน)
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 31.6651
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
เวียดนาม
ภาวะราคาข้าวขาว 5% ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ทรงตัวอยู่ที่ระดับ 360 เหรียญสหรัฐต่อตัน ติดต่อกันเป็นสัปดาห์ที่ 5 ท่ามกลางภาวะที่อุปทานข้าวในประเทศเริ่มลดลงหลังจากที่สิ้นสุดฤดูเก็บเกี่ยวข้าวในช่วงฤดูหนาว ถึงใบไม้ผลิ (Winter-Spring crop) โดยผู้ค้าข้าวต่างคาดหวังว่า ในช่วงนี้จะมีคำสั่งซื้อข้าวจากต่างประเทศเข้ามา
กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ (USDA) คาดการณ์ว่า ในปีการตลาด 2562/63 (มกราคม-ธันวาคม 2562) ประเทศเวียดนามจะมีผลผลิตข้าวเปลือกประมาณ 45.085 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 44.338 ล้านตัน ในปี 2561/62 เนื่องจากในช่วงฤดูเพาะปลูกฤดูหนาว-ฤดูใบไม้ผลิต และในช่วงฤดูการผลิตฤดูร้อน-ฤดูใบไม้ร่วง มีผลผลิตต่อพื้นที่เพาะปลูกเพิ่มขึ้น ขณะที่ ความต้องการบริโภคข้าวในปี 2562/63 คาดว่าจะมีประมาณ 22.4 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจาก 22 ล้านตัน ในปี2561/62 เนื่องจากประชากรมีจำนวนเพิ่มขึ้น ทางด้านการส่งออก คาดว่าในปี 2562/63 จะส่งออกได้ประมาณ 6.5 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 6 ล้านตัน ในปี 2561/62 เนื่องจากคาดว่าเวียดนามจะมีผลผลิตข้าวเพิ่มขึ้น
ที่มา : สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
จีน
กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ (USDA) ได้เผยแพร่ รายงานมาตรฐานข้าวแห่งชาติ (ฉบับใหม่) ของประเทศจีน (GB/T 1354-2018) ซึ่งจะมีผลตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2562 เป็นต้นไป
ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2561 หน่วยงานกำกับดูแลการตลาดของจีน (China’s State Administration for Market Regulation; SAMR) ได้เผยแพร่มาตรฐานข้าวฉบับใหม่ของจีน เลขที่ GB / T 1354-2018 เพื่อใช้แทนฉบับที่ GB / T 1354-2009 ซึ่งมาตรฐานข้าวแห่งชาติฉบับใหม่นี้ จะนำไปใช้สำหรับข้าวที่ผลิตในประเทศและนำเข้าจากต่างประเทศ โดยมีข้อกำหนดและรายละเอียดที่ไม่กว้างมากนักสำหรับข้าวแต่ละประเภท และคำศัพท์ทางเทคนิคบางอย่างในมาตรฐานนี้จะอ้างอิงตามมาตรฐานสากล เช่น Codex เป็นต้น
สำนักข่าว Reuters รายงานว่า การประมูลขายข้าวจากสต็อกของรัฐบาลที่เก็บไว้ตั้งแต่ปีการผลิต 2557 เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2562 ที่ผ่านมา ศูนย์การค้าธัญพืชแห่งชาติ (the National Grain Trade Center) สามารถขายข้าวได้จำนวน 1,660 ตัน เท่านั้น จากที่นำข้าวออกมาประมูลประมาณ 377,273 ตัน (คิดเป็นร้อยละ 0.44 ของจำนวนที่นำมาประมูล) โดยราคาประมูลเฉลี่ยที่ 2,000 หยวนต่อตัน หรือประมาณ 297.91 เหรียญสหรัฐต่อตัน
ขณะที่กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ (USDA) รายงานว่า ประเทศจีนมีการระบายข้าวเก่าจากสต็อกรัฐบาล ในช่วงตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม - 27 ธันวาคม 2561 โดยได้มีการจัดประมูลขายข้าวออกไปได้แล้วประมาณ 8.5 ล้านตัน (ไม่รวมข้าวที่ประมูลเพื่อใช้ในอุตสาหกรรม)
ที่มา : สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
กัมพูชา
กัมพูชาเตรียมนำเรื่องที่สหภาพยุโรปใช้มาตรการภาษีนำเข้าข้าวจากกัมพูชาและเมียนมา ยื่นร้องต่อศาลยุโรป หลังจากที่คณะกรรมาธิการยุโรปได้กำหนดอัตราภาษีกับข้าวที่นำเข้าจากกัมพูชาและเมียนมาเป็นระยะเวลา 3 ปี โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 18 มกราคมที่ผ่านมา ซึ่งสหภาพยุโรปได้รับการร้องเรียนเกี่ยวกับปริมาณข้าวที่นำเข้าช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ซึ่งมีปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ ส่งผลกระทบต่อผู้ผลิตในกลุ่มสหภาพยุโรปที่ส่วนใหญ่เป็นผู้ผลิตในประเทศอิตาลี โดยส่วนแบ่งการตลาดของผู้ผลิตในสหภาพยุโรปลดลงในช่วงระยะเวลาดังกล่าวจากร้อยละ 61 คงเหลือร้อยละ 29
ทางด้านสหพันธ์ข้าวกัมพูชา (Cambodia Rice Federation; CRF) ระบุว่า มาตรการป้องกันดังกล่าว ถูกนำไปใช้ในทางที่ผิดและผิดวัตถุประสงค์ของกฎหมายสหภาพยุโรป ซึ่งการกลับมากำหนดอัตราภาษีนำเข้าในครั้งนี้ ถือว่าเป็นอันตรายต่อเศรษฐกิจกัมพูชาและอุตสาหกรรมของประเทศ ส่งผลกระทบต่อประชาชนทั้งหมดของประเทศ
ทั้งนี้ ตามประกาศของสหภาพยุโรป กำหนดให้การนำเข้าข้าวจากทั้งสองประเทศถูกกำหนดอัตราภาษีที่ 175 ยูโรต่อตันในปีแรก และปรับลดลงเหลือ 150 ยูโร ในปีที่ 2 และ 125 ยูโร ในปีที่ 3
กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ (USDA) คาดการณ์ว่าในปีการตลาด 2562/63 (มกราคม-ธันวาคม 2562) ประเทศกัมพูชาจะมีผลผลิตข้าวเปลือกประมาณ 9.325 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากจำนวน 9.234 ล้านตัน ในปี 2561/62
ขณะที่การส่งออกข้าวในปี 2562/63 คาดว่าจะมีประมาณ 1.4 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากจำนวน 1.3 ล้านตัน ในปี 2561/62 ซึ่งตัวเลขส่งออกดังกล่าว รวมการส่งออกข้าวผ่านทางแนวชายแดนไปยังประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ ไทย และเวียดนามด้วย ทั้งนี้ ในส่วนของการส่งออกอย่างเป็นทางการผ่านทางท่าเรือในปี 2561/62 ที่ผ่านมา มีจำนวน 626,225 ตัน ลดลงจากปีก่อนหน้า เนื่องจากในปีที่แล้วการส่งออกข้าวไปยังประเทศจีนซึ่งเป็นตลาดหลัก มีจำนวนลดลงจากปีก่อน ขณะที่กัมพูชายังไม่สามารถหาตลาดส่งออกใหม่ได้ โดยการส่งออกข้าว ส่วนใหญ่จะเป็นข้าวในกลุ่มข้าวหอมคิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 79 ของการส่งออกทั้งหมด ตามด้วยข้าวขาวและข้าวนึ่ง ในสัดส่วนที่ไม่มากนัก
ที่มา : สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
กราฟราคาที่เกษตรกรขายได้ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% และราคาขายส่งตลาด กทม. ข้าวสารเจ้า 5%
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดภายในประเทศในช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5 % สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 7.88 บาท และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5 % สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.16 บาท สำหรับสัปดาห์ที่ผ่านมา ไม่มีรายงานราคา
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อสัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.93 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน และราคาขายส่งไซโลรับซื้อสัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.22 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.15 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.86
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 293.60 ดอลลาร์สหรัฐ (9,297 บาท/ตัน) ลดลงจากตันละ 295.00 ดอลลาร์สหรัฐ (9,307 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.47 และลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 10 บาท
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในต่างประเทศ
กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ คาดคะเนความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของโลก
ปี 2561/62 ว่ามี 1,133.77 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1,086.73 ล้านตัน ในปี 2560/61 ร้อยละ 4.33 โดย จีน สหภาพยุโรป บราซิล เม็กซิโก อินเดีย อียิปต์ แคนนาดา อาร์เจนตินา เวียดนาม อินโดนีเซีย แอฟริกาใต้ ไนจีเรีย อิหร่าน และเกาหลีใต้ มีความต้องการใช้เพิ่มขึ้น สำหรับการค้าของโลกมี 165.83 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 151.98 ล้านตัน ในปี 2560/61 ร้อยละ 9.11 โดย บราซิล ยูเครน อาร์เจนตินา เซอร์เบีย ปารากวัย และสหภาพยุโรป ส่งออกเพิ่มขึ้น ประกอบกับผู้นำเข้า เช่น สหภาพยุโรป เม็กซิโก เวียดนาม เกาหลีใต้ อียิปต์ อิหร่าน โคลัมเบีย จีน ซาอุดิอาระเบีย แอลจีเรีย มาเลเซีย โมร็อกโก ชิลี บังกลาเทศ สาธารณรัฐโดมินิกัน กัวเตมาลา ตูนิเซีย สหรัฐอเมริกา และบราซิล มีการนำเข้าเพิ่มขึ้น (ตารางแนบท้าย)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนพฤษภาคม 2562 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 279.96 เซนต์ (3,538 บาท/ตัน) ลดลงจากบุชเชลละ 359.84 เซนต์ (4,530 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 22.20 และลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 992 บาท
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลัง ปี 2562 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2561 – กันยายน 2562) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.72 ล้านไร่ ผลผลิต 31.55 ล้านตัน ผลผลลิตต่อไร่ 3.62 ตัน เมื่อเทียบกับปี 2561
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.33 ล้านไร่ ผลผลิต 29.37 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3.53 ตัน พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ สูงขึ้นร้อยละ 4.68 ร้อยละ 7.42 และร้อยละ 2.55 ตามลำดับ โดยเดือนเมษายน 2562
คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 1.66 ล้านตัน (ร้อยละ 5.25 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2562 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2562 ปริมาณ 21.14 ล้านตัน (ร้อยละ 67 ของผลผลิตทั้งหมด)
การตลาด
ผลผลิตมันสำปะหลังออกสู่ตลาดมาก แต่ราคามันสำปะหลังยังอยู่ในเกณฑ์ดี ทั้งนี้หัวมันสำปะหลังส่วนใหญ่ไหลเข้าสู่โรงงานแป้งมันสำปะหลัง สำหรับลานมันเส้นเปิดดำเนินการไม่มาก
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2.12 บาท
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.21 บาท
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.29 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 6.30 บาท ในสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 0.16
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต กรุงเทพและปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.75 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 218 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,885 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 463 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,661 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน (14,608 บาทต่อตัน)
ปาล์มน้ำมัน
อ้อยและน้ำตาล
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
รายงานการผลิตน้ำตาลทรายของโรงงานน้ำตาลทั่วประเทศ
ศูนย์บริหารการผลิต สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย ได้รายงานการเก็บเกี่ยวอ้อยและการผลิต น้ำตาลทรายตั้งแต่วันที่ 20 พฤศจิกายน 2561 จนถึงวันที่ 24 เมษายน 2562 ว่ามีอ้อยเก็บเกี่ยวเข้าโรงงานน้ำตาลไปแล้วจำนวน 130,606,581 ตัน ผลิตเป็นน้ำตาลได้ 14,510,708 ตัน แยกเป็นน้ำตาลทรายดิบ 11,320,919 ตัน และน้ำตาลทรายขาว 3,189,789 ตัน ค่าความหวานของอ้อยเฉลี่ย 12.64 ซี.ซี.เอส. ผลผลิตน้ำตาลทรายเฉลี่ยต่อตันอ้อย 111.10 กก.ต่อตันอ้อย
2. สรุปภาวการณ์ผลิตการตลาดและราคาในต่างประเทศ
รายงานการส่งออกน้ำตาลของปากีสถาน
ปากีสถาน รายงานว่าได้ส่งออกน้ำตาลจำนวน 150,000 ตัน ไปยังประเทศจีนโดยไม่เสียภาษีนำเข้า โดยจะมีการลงนามในข้อตกลงการค้าเสรี (FTA) กับจีนในวันที่ 28 เมษายน 2562 ซึ่งทางปากีสถานจะได้รับส่วนแบ่งการตลาดสินค้าปลอดภาษีเทียบเท่ากับสมาชิก ASEAN จากจีน
ถั่วเหลือง
ยางพารา
ราคายางแผ่นดิบคุณภาพ 3 ตลาดกลางหาดใหญ่ สัปดาห์นี้ 50.96 บาท/กิโลกรัม
1. ราคายางพาราภายในประเทศ
1.1 ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
1) ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.57 บาท เพิ่มขึ้นจาก 46.44 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 2.13 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.59
2) ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 2 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.07 บาท เพิ่มขึ้นจาก 45.94 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 2.13 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.64
3) ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 47.57 บาท เพิ่มขึ้นจาก 45.44 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 2.13 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.69
4) ยางก้อนคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.17 บาท เพิ่มขึ้นจาก 21.85 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.32 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.46
5) เศษยางคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 18.82 บาท ลดลงจาก 18.86 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.04 บาท หรือลดลงร้อยละ 0.21
6) น้ำยางสดคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 44.22 บาท ลดลงจาก 44.86 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.64 บาท หรือลดลงร้อยละ 1.43
1.2 ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ซื้อขายล่วงหน้าส่งมอบเดือนพฤษภาคม
ณ ท่าเรือกรุงเทพ
1) ยางแผ่นรมควันชั้น 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.24 บาท เพิ่มขึ้นจาก 57.15 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.09 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.16
2) ยางแผ่นรมควันชั้น 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 56.09 บาท เพิ่มขึ้นจาก 56.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.09 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.16
3) ยางแท่ง (STR20) ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 49.82 บาท เพิ่มขึ้นจาก 49.80 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.02 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.04
4) น้ำยางข้น ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.97 บาท ลดลงจาก 40.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.03 บาท หรือลดลงร้อยละ 0.08
ณ ท่าเรือสงขลา
1) ยางแผ่นรมควันชั้น 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 56.99 บาท เพิ่มขึ้นจาก 56.90 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.09 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.16
2) ยางแผ่นรมควันชั้น 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.84 บาท เพิ่มขึ้นจาก 55.75 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.09 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.16
3) ยางแท่ง (STR20) ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 49.57 บาท เพิ่มขึ้นจาก 49.55 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.02 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.04
4) น้ำยางข้น ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.72 บาท ลดลงจาก 39.75 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.03 บาท หรือลดลงร้อยละ 0.08
2. ราคายางแผ่นรมควันชั้น 3 ในตลาดล่วงหน้าต่างประเทศ
2.1 ราคาซื้อขายล่วงหน้าตลาดสิงคโปร์ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 171.88 เซนต์สหรัฐฯ (54.43 บาท) ลดลงจาก 172.70 เซนต์สหรัฐฯ (54.50 บาท) ของสัปดาห์ที่ผ่านมากิโลกรัมละ 0.82 เซนต์สหรัฐฯ หรือลดลงร้อยละ 0.47
2.2 ราคาซื้อขายล่วงหน้าตลาดโตเกียว เฉลี่ยกิโลกรัมละ 187.18 เยน (52.51 บาท) เพิ่มขึ้นจาก 186.28 เยน (52.09 บาท) ของสัปดาห์ที่ผ่านมากิโลกรัมละ 0.90 เยน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.48
สับปะรด
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละสัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.84 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ และถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 25.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 25.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 16.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 914.80 ดอลลาร์สหรัฐ (28.97 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 918.50 ดอลลาร์สหรัฐ (28.98 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.40 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 819.40 ดอลลาร์สหรัฐ (25.95 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 822.50 ดอลลาร์สหรัฐ (25.95 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.38 แต่ในรูปเงินบาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 819.40 ดอลลาร์สหรัฐ (25.95 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 822.50 ดอลลาร์สหรัฐ (25.95 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.38 แต่ในรูปเงินบาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 533.60 ดอลลาร์สหรัฐ (16.90 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 536.00 ดอลลาร์สหรัฐ (16.91 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.45 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 877.00 ดอลลาร์สหรัฐ (27.77 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 880.00 ดอลลาร์สหรัฐ (27.76 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.34 แต่สูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละสัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.84 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ และถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 25.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 25.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 16.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 914.80 ดอลลาร์สหรัฐ (28.97 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 918.50 ดอลลาร์สหรัฐ (28.98 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.40 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 819.40 ดอลลาร์สหรัฐ (25.95 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 822.50 ดอลลาร์สหรัฐ (25.95 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.38 แต่ในรูปเงินบาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 819.40 ดอลลาร์สหรัฐ (25.95 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 822.50 ดอลลาร์สหรัฐ (25.95 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.38 แต่ในรูปเงินบาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 533.60 ดอลลาร์สหรัฐ (16.90 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 536.00 ดอลลาร์สหรัฐ (16.91 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.45 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 877.00 ดอลลาร์สหรัฐ (27.77 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 880.00 ดอลลาร์สหรัฐ (27.76 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.34 แต่สูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 53.93 บาท
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 36.86 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 60.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 51.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 53.93 บาท
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 36.86 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 60.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 51.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ฝ้าย
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้
ราคาฝ้ายรวมเมล็ดชนิดคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาซื้อ-ขายล่วงหน้าตลาดนิวยอร์ก (New York Cotton Futures)
ราคาซื้อ-ขายล่วงหน้า เพื่อส่งมอบเดือนกรกฎาคม 2562 สัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 77.45 (กิโลกรัมละ 54.80 บาท) ลดลงจากปอนด์ละ 77.59 เซนต์ (กิโลกรัมละ 54.70 บาท) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.18 และลดลงในรูปของเงินบาทกิโลกรัมละ 0.10 บาท
ราคาฝ้ายรวมเมล็ดชนิดคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาซื้อ-ขายล่วงหน้าตลาดนิวยอร์ก (New York Cotton Futures)
ราคาซื้อ-ขายล่วงหน้า เพื่อส่งมอบเดือนกรกฎาคม 2562 สัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 77.45 (กิโลกรัมละ 54.80 บาท) ลดลงจากปอนด์ละ 77.59 เซนต์ (กิโลกรัมละ 54.70 บาท) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.18 และลดลงในรูปของเงินบาทกิโลกรัมละ 0.10 บาท
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,621 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,607 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.84
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,297 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,294 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.26
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 842 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,297 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,294 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.26
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 842 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากสภาพอากาศที่เริ่มร้อนขึ้นทำให้สุกรเจริญเติบโตช้า ส่งผลให้ปริมาณสุกรออกสู่ตลาดไม่มากนัก แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 68.88 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 68.45 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.63 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 68.57 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 65.75 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 69.86 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 69.93 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 2,100 บาท (บวกลบ 70 บาท) ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 73.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากสภาพอากาศที่เริ่มร้อนขึ้นทำให้สุกรเจริญเติบโตช้า ส่งผลให้ปริมาณสุกรออกสู่ตลาดไม่มากนัก แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 68.88 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 68.45 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.63 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 68.57 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 65.75 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 69.86 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 69.93 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 2,100 บาท (บวกลบ 70 บาท) ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 73.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไก่เนื้อสัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากสภาพอากาศแปรปรวนในหลายพื้นที่ร้อนจัดและอบอ้าวทำให้ไก่เนื้อเจริญเติบโตช้า ส่งผลให้ผลผลิตไก่เนื้อออกสู่ตลาดไม่มากนัก แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 36.86 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 36.64 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.60 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 35.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 36.77 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 40.10 บาท และภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 11.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.50 บาท และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 47.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์ตลาดไก่เนื้อสัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากสภาพอากาศแปรปรวนในหลายพื้นที่ร้อนจัดและอบอ้าวทำให้ไก่เนื้อเจริญเติบโตช้า ส่งผลให้ผลผลิตไก่เนื้อออกสู่ตลาดไม่มากนัก แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 36.86 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 36.64 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.60 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 35.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 36.77 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 40.10 บาท และภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 11.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.50 บาท และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 47.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ในสัปดาห์นี้ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากในช่วงนี้ตลาดหลักของไข่ไก่ คือ สถานศึกษาปิดภาคเรียน ส่งผลให้ความต้องการบริโภคลดลงเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 264 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 266 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.75 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 287 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 275 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 254 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 15.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0-4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 281 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ในสัปดาห์นี้ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากในช่วงนี้ตลาดหลักของไข่ไก่ คือ สถานศึกษาปิดภาคเรียน ส่งผลให้ความต้องการบริโภคลดลงเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 264 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 266 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.75 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 287 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 275 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 254 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 15.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0-4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 281 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 321 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 325 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.23 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 329 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 333 บาท ภาคกลาง ร้อยฟองละ 303 บาท และภาคใต้ ไม่มีรายงาน
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 340 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 321 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 325 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.23 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 329 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 333 บาท ภาคกลาง ร้อยฟองละ 303 บาท และภาคใต้ ไม่มีรายงาน
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 340 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 89.65 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 89.40 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.28 โดยเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 85.07 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 85.86 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 88.07 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 101.72 บาท
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 89.65 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 89.40 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.28 โดยเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 85.07 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 85.86 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 88.07 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 101.72 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 69.75 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 69.41 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.49 แยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 89.70 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 65.90 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงานราคา
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 69.75 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 69.41 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.49 แยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 89.70 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 65.90 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงานราคา
ประมง
1. สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
การผลิต
เปลี่ยนถ่ายกระชังลูกใหม่หรือเพิ่มออกซิเจนในน้ำนช่วงดังกล่าวเป็นช่วงที่น้ำตาย โดยเฉพาะในช่วงกลางคืนบวกกับออกซิเจนในน้ำค่อนในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 19 – 25 เมษายน 2562) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้ คือ
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3-4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯเฉลี่ยกิโลกรัมละ 70.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 86.26 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 81.51 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 4.75 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 120.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัมเฉลี่ยกิโลกรัมละ 144.02 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 152.45 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 8.43 บาท
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม เฉลี่ยกิโลกรัมละ 127.50 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 130.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 2.50 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาปลาทูสดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.88 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 77.09 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 3.79 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 85.00 บาท ราคา ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาปลาหมึกกระดองสดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ย กิโลกรัมละ 138.00 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 140.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 2.00 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 260.00 บาท ราคา ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.16 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.11 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.05 บาท
สำหรับราคาขายส่งปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% (ระหว่างวันที่ 19 – 25 เมษายน 2562) ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 26.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
1. สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
การผลิต
เปลี่ยนถ่ายกระชังลูกใหม่หรือเพิ่มออกซิเจนในน้ำนช่วงดังกล่าวเป็นช่วงที่น้ำตาย โดยเฉพาะในช่วงกลางคืนบวกกับออกซิเจนในน้ำค่อนในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 19 – 25 เมษายน 2562) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้ คือ
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3-4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯเฉลี่ยกิโลกรัมละ 70.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 86.26 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 81.51 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 4.75 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 120.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัมเฉลี่ยกิโลกรัมละ 144.02 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 152.45 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 8.43 บาท
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม เฉลี่ยกิโลกรัมละ 127.50 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 130.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 2.50 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาปลาทูสดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.88 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 77.09 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 3.79 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 85.00 บาท ราคา ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาปลาหมึกกระดองสดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ย กิโลกรัมละ 138.00 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 140.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 2.00 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 260.00 บาท ราคา ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.16 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.11 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.05 บาท
สำหรับราคาขายส่งปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% (ระหว่างวันที่ 19 – 25 เมษายน 2562) ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 26.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา