- ข้อมูลเศรษฐกิจการเกษตร
- ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร
- รายละเอียดภาวะเศรษฐกิจการเกษตร
ข้อมูลเศรษฐกิจการเกษตร
สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 5-11 เมษายน 2562
ข้าว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การตลาด
มาตรการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าวปีการผลิต 2561/62
มติที่ประชุม คณะกรรมการนโยบายและบริหารจัดการข้าว (นบข.) ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2561 เห็นชอบในหลักการมาตรการฯ ด้านการผลิตและการตลาด ทั้งหมด 10 โครงการดังนี้
(1) ด้านการผลิต* ได้แก่ 1) โครงการส่งเสริมระบบการเกษตรแบบนาแปลงใหญ่ (นาแปลงใหญ่) 2) โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวอินทรีย์ 3) โครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง 4) โครงการส่งเสริมระบบการเกษตรแบบแม่นยำสูง (Precision Farming) 5) โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพชั้นเลิศ 6) โครงการส่งเสริมการผลิตและการตลาดข้าวพันธุ์ กข 43 เพื่อสุขภาพแบบครบวงจร และ 7) โครงการปรับเปลี่ยนระบบการผลิตข้าวในพื้นที่ลุ่มต่ำ 13 ทุ่ง
หมายเหตุ * ด้านการผลิต เป็นโครงการที่หน่วยงานดำเนินการตามปกติ จึงไม่นำเข้าที่ประชุม ครม.พิจารณามาตรการฯ
(2) ด้านการตลาด
- มติที่ประชุม คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2561 อนุมัติการดำเนินโครงการและวงเงินงบประมาณที่ใช้ช่วยเหลือเกษตรกรและรักษาเสถียรภาพราคาข้าว ปีการผลิต 2561/62 ด้านการตลาด จำนวน 3 โครงการ ได้แก่ โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือกนาปีและการช่วยเหลือค่าเก็บเกี่ยวและปรับปรุงคุณภาพข้าว
2) โครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร และ 3) โครงการชดเชยดอกเบี้ยให้ผู้ประกอบการค้าข้าวในการเก็บสต็อก
- มติที่ประชุม คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2561 อนุมัติทบทวนมาตรการรักษาเสถียรภาพราคาข้าว ปีการผลิต 2561/62 โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2561/61 ตามมติคณะกรรมการ นบข. เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2561 ที่กระทรวงพาณิชย์เสนอดังนี้
(1) กรณีเกษตรกรฝากเก็บข้าวไว้ที่สหกรณ์หรือสถาบันเกษตรกร ให้ปรับปรุงให้ค่าเก็บรักษาข้าวเปลือก
ตันละ 500 บาท ปรับเป็น “ให้เกษตรกรได้รับตันละ 1,000 บาท และสหกรณ์ได้รับตันละ 500 บาท”
(2) เกษตรกรและสถาบันเกษตรกร ต้องเก็บรักษาข้าวเปลือกหลักประกันไว้ในยุ้งฉางหรือสถานที่เก็บของตนเองเท่านั้น
(3) ปรับปรุงวิธีการเก็บรักษาข้าวเปลือกของสถาบันเกษตรกร ต้องเก็บรักษาข้าวเปลือกโดยบรรจุข้าวเปลือกในกระสอบป่านหรือถุง Big bag และวางเรียงในยุ้งฉางหรือสถานที่เก็บเพื่อสะดวกในการตรวจสอบ หรือเก็บข้าวในยุ้งฉางที่ยกพื้นสูงหรือไซโล (SILO) ยกเว้นกรณีเทกองจะต้องมีระบบการระบายอากาศ เพื่อการรักษาคุณภาพข้าวเปลือกไม่ให้เสื่อมสภาพตลอดระยะเวลาโครงการ
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 15,668 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,675 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.05
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 7,785 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 7,712 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.95
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 34,050 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 11,750 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 11,670 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.68
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 1,139 ดอลลาร์สหรัฐฯ (35,964 บาท/ตัน)
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 416 ดอลลาร์สหรัฐฯ (13,135 บาท/ตัน)
ข้าวขาว 25% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 406 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,819 บาท/ตัน)
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 413 ดอลลาร์สหรัฐฯ (13,040 บาท/ตัน)
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 31.5750
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
กัมพูชา
สำนักงานบริการด้านการส่งออกข้าวของกัมพูชา (Secretariat of One Window Service for Rice Export Formality; SOWS-REF) รายงานการส่งออกข้าวในเดือนมีนาคม 2562 มีจำนวน 58,335 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.35
เมื่อเทียบกับจำนวน 52,861 ตัน ในเดือนกุมภาพันธ์ 2562 และเพิ่มขึ้นร้อยละ 15.1 เมื่อเทียบกับจำนวน 50,683 ตัน
ในเดือนมีนาคม 2561 โดยชนิดข้าวที่ส่งออกในเดือนมีนาคม 2562 ประกอบด้วย ข้าวหอมเกรด Premium เช่น Phka Rumduol / Phka Malis จำนวน 28,333 ตัน ข้าวหอมอื่นๆ เช่น Senkraob, Neang Suay จำนวน 24,207 ตัน
ข้าวขาวเมล็ดยาวจำนวน 5,188 ตัน และข้าวนึ่งเมล็ดยาวจำนวน 607 ตัน
ทั้งนี้ ในช่วง 3 เดือนแรกของปี กัมพูชาส่งออกข้าวแล้ว 170,821 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 6 เมื่อเทียบกับจำนวน 161,115 ตัน ในช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา โดยชนิดข้าวที่ส่งออกในช่วง 3 เดือนแรก ประกอบด้วย ข้าวหอมเกรด Premium เช่น Phka Rumduol / Phka Malis จำนวน 89,645 ตัน (เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.7 เมื่อเทียบกับปีที่แล้ว) ข้าวหอมอื่นๆ เช่น Senkraob, Neang Suay จำนวน 63,109 ตัน (เพิ่มขึ้นร้อยละ 60.6 เมื่อเทียบกับปีที่แล้ว) ข้าวขาวเมล็ดยาว
จำนวน 15,605 ตัน (ลดลงร้อยละ 43.5 เมื่อเทียบกับปีที่แล้ว) และข้าวนึ่งเมล็ดยาวจำนวน 2,462 ตัน (ลดลงร้อยละ 68.3 เมื่อเทียบกับปีที่แล้ว)
สำหรับประเทศที่กัมพูชาส่งออกข้าวในช่วง 3 เดือนแรกของปี ประกอบด้วย ประเทศจีนมากเป็นอันดับหนึ่ง
จำนวน 71,595 ตัน (เพิ่มขึ้นร้อยละ 72.9 เมื่อเทียบกับปีที่แล้ว) ประเทศฝรั่งเศส 20,258 ตัน (ลดลงร้อยละ 7.1 เมื่อเทียบกับปีที่แล้ว) ประเทศมาเลเซีย 9,473 ตัน (ลดลงร้อยละ 27.5 เมื่อเทียบกับปีที่แล้ว) ประเทศเนเธอร์แลนด์ 4,560 ตัน (ลดลงร้อยละ 36.1 เมื่อเทียบกับปีที่แล้ว) นอกจากนี้ยังส่งไปยังประเทศสเปน 4,383 ตัน และประเทศเยอรมนี 3,652 ตัน เป็นต้น
ทางด้านวงการค้าข้าว ระบุว่า แม้ว่าการส่งออกข้าวไปยังตลาดในสหภาพยุโรปจะลดลง แต่การส่งออกไปยังตลาดจีนเพิ่มขึ้น ซึ่งนาย Hun Lak รองประธานสหพันธ์ข้าวกัมพูชา (Cambodia Rice Federation; CRF) แสดงความเห็นว่า
การส่งออกที่เพิ่มขึ้นเป็นผลมาจากการที่รัฐบาลจีนเพิ่มโควตานำเข้าข้าวจากกัมพูชา เป็น 400,000 ตัน ในปีนี้ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแผนในการเพิ่มการค้าระหว่างสองประเทศให้ได้ 32 พันล้านบาท ภายในปี 2566 (ผู้นำของทั้งสองประเทศได้ตกลงกันในระหว่างพบปะกันเมื่อเดือนมกราคม ณ กรุงปักกิ่ง) พร้อมทั้งย้ำว่าผู้ส่งออกข้าวของกัมพูชาควรหันไปเน้นตลาดจีนมากขึ้น ในขณะที่การส่งออกไปยังสหภาพยุโรปค่อนข้างทรงตัว แม้จะได้รับผลกระทบจากมาตรการเก็บภาษีนำเข้าข้าวของสหภาพยุโรปที่ประกาศใช้ไปเมื่อกลางเดือนมกราคมที่ผ่านมา (เก็บภาษีนำเข้าปีแรกที่ 175 ยูโรต่อตัน หรือประมาณ 198 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน และลดลงเหลือ 150 และ 125 ยูโรต่อตัน ในปีที่สองและสาม ตามลำดับ) เนื่องจากผู้บริโภคยังคงมีความต้องการข้าวจากกัมพูชา แต่ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา การแข่งขันในตลาดสหภาพยุโรปเป็นไปอย่างรุนแรง เพราะกัมพูชาต้องแข่งขันกับข้าวจากประเทศอื่นๆ ด้วย
ทั้งนี้ ในปี 2561 มีการส่งออกข้าวจำนวน 626,225 ตัน ลดลงร้อยละ 1.48 เมื่อเทียบกับจำนวน 635,679 ตัน ในปี 2560 โดยส่งออกข้าวหอมทุกชนิด (Fragrant Rice) จำนวนรวม 493,597 ตัน (คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 79 ของการส่งออกข้าวทั้งหมด) เพิ่มขึ้นร้อยละ 25.27 เมื่อเทียบกับจำนวน 394,027 ตัน ในปี 2560 ส่วนการส่งออกข้าวขาว (White Rice) มีจำนวน 105,990 ตัน (คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 17 ของการส่งออกข้าวทั้งหมด) ลดลงร้อยละ 32.34 เมื่อเทียบกับ
จำนวน 156,654 ตัน ในปี 2560 และข้าวนึ่ง (Parboiled Rice) จำนวน 26,638 ตัน (คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 4 ของ
การส่งออกข้าวทั้งหมด) ลดลงร้อยละ 68.66 เมื่อเทียบกับจำนวน 84,998 ตัน ในปี 2560 สำหรับตลาดส่งออกที่สำคัญ ในปี 2561 ประกอบด้วย ตลาดสหภาพยุโรปจำนวน 269,127 ตัน (คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 43 ของการส่งออกข้าวทั้งหมด) ลดลงร้อยละ 2.77 เมื่อเทียบกับจำนวน 276,805 ตัน ในปี 2560 รองมาคือ ตลาดอาเซียนจำนวน 102,946 ตัน (คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 16 ของการส่งออกข้าวทั้งหมด) เพิ่มขึ้นร้อยละ 100.58 เมื่อเทียบกับจำนวน 51,325 ตัน
ในปี 2560 ตลาดจีนจำนวน 170,154 ตัน (คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 27 ของการส่งออกข้าวทั้งหมด) ลดลงร้อยละ 14.86 เมื่อเทียบกับจำนวน 199,857 ตัน ในปี 2560 และตลาดอื่นๆ จำนวน 83,998 ตัน (คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 13 ของ
การส่งออกข้าวทั้งหมด) ลดลงร้อยละ 22.0 เมื่อเทียบกับจำนวน 107,692 ตัน ในปี 2560
ปี 2561 กัมพูชาส่งออกข้าวไปยังประเทศจีนมากเป็นอันดับ 1 จำนวนประมาณ 170,154 ตัน ลดลงร้อยละ 14.9 เมื่อเทียบกับจำนวน 199,857 ตัน ในปี 2560 ลองมาคือ ประเทศฝรั่งเศส 86,050 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.2 เมื่อเทียบกับจำนวน 77,363 ตัน ในปี 2560 มาเลเซีย 40,861 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.5 เมื่อเทียบกับจำนวน 38,360 ตัน ในปี 2560 โปแลนด์ 23,142 ตัน ลดลงร้อยละ 47.4 เมื่อเทียบกับจำนวน 44,023 ตัน ในปี 2560 เนเธอร์แลนด์ 26,714 ตัน ลดลงร้อยละ 1.7 เมื่อเทียบกับจำนวน 27,175 ตัน ในปี 2560 สหราชอาณาจักร 18,178 ตัน ลดลงร้อยละ 32.1 เมื่อเทียบกับจำนวน 26,775 ตัน ในปี 2560 กาบอง 33,060 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 34.0 เมื่อเทียบกับจำนวน 24,677 ตัน ในปี 2560 ส่วนประเทศอื่นๆ ที่กัมพูชาส่งออกในปี 2561 เช่น เวียดนาม 26,712 ตัน และไทย 23,816 ตัน เป็นต้น
ที่มา : สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
เมียนมาร์
สมาคมผู้ค้าข้าวเปลือกและข้าวสารเมียนมาร์ (The Myanmar Rice and Paddy Traders’ Association)
กำหนดราคาขายส่งข้าวเมล็ดยาวไว้ที่ 19,500 จ๊าดต่อถุง 49 กิโลกรัม หรือประมาณ 410 บาท (ประมาณ 635 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน) หลังจากราคาข้าวในประเทศปรับตัวลดลง เนื่องจากอุปทานข้าวในประเทศเพิ่มขึ้นท่ามกลางภาวะความต้องการข้าวจากต่างประเทศ โดยเฉพาะการส่งออกข้าวไปยังประเทศจีนทางแนวชายแดนลดลง และจากที่สหภาพยุโรปประกาศใช้มาตรการเก็บภาษีนำเข้าข้าวในอัตราสูง (เก็บภาษีเท่ากับกรณีของกัมพูชา)
ทั้งนี้ ราคาข้าวในประเทศปรับลดลงมาอยู่ที่ระดับประมาณ 19,000 จ๊าดต่อถุง 49 กิโลกรัม เมื่อช่วงกลางเดือนมกราคม หลังจากสหภาพยุโรปประกาศใช้มาตรการทางภาษีกับเมียนมาร์และกัมพูชา ส่งผลให้ราคาข้าวปรับลดลงมากเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมาที่ราคาประมาณ 26,000 จ๊าดต่อถุง 49 กิโลกรัม (ประมาณ 856 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน)
ที่มา : สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
กราฟราคาที่เกษตรกรขายได้ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% และราคาขายส่งตลาด กทม. ข้าวสารเจ้า 5%
1.1 การตลาด
มาตรการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าวปีการผลิต 2561/62
มติที่ประชุม คณะกรรมการนโยบายและบริหารจัดการข้าว (นบข.) ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2561 เห็นชอบในหลักการมาตรการฯ ด้านการผลิตและการตลาด ทั้งหมด 10 โครงการดังนี้
(1) ด้านการผลิต* ได้แก่ 1) โครงการส่งเสริมระบบการเกษตรแบบนาแปลงใหญ่ (นาแปลงใหญ่) 2) โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวอินทรีย์ 3) โครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง 4) โครงการส่งเสริมระบบการเกษตรแบบแม่นยำสูง (Precision Farming) 5) โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพชั้นเลิศ 6) โครงการส่งเสริมการผลิตและการตลาดข้าวพันธุ์ กข 43 เพื่อสุขภาพแบบครบวงจร และ 7) โครงการปรับเปลี่ยนระบบการผลิตข้าวในพื้นที่ลุ่มต่ำ 13 ทุ่ง
หมายเหตุ * ด้านการผลิต เป็นโครงการที่หน่วยงานดำเนินการตามปกติ จึงไม่นำเข้าที่ประชุม ครม.พิจารณามาตรการฯ
(2) ด้านการตลาด
- มติที่ประชุม คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2561 อนุมัติการดำเนินโครงการและวงเงินงบประมาณที่ใช้ช่วยเหลือเกษตรกรและรักษาเสถียรภาพราคาข้าว ปีการผลิต 2561/62 ด้านการตลาด จำนวน 3 โครงการ ได้แก่ โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือกนาปีและการช่วยเหลือค่าเก็บเกี่ยวและปรับปรุงคุณภาพข้าว
2) โครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร และ 3) โครงการชดเชยดอกเบี้ยให้ผู้ประกอบการค้าข้าวในการเก็บสต็อก
- มติที่ประชุม คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2561 อนุมัติทบทวนมาตรการรักษาเสถียรภาพราคาข้าว ปีการผลิต 2561/62 โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2561/61 ตามมติคณะกรรมการ นบข. เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2561 ที่กระทรวงพาณิชย์เสนอดังนี้
(1) กรณีเกษตรกรฝากเก็บข้าวไว้ที่สหกรณ์หรือสถาบันเกษตรกร ให้ปรับปรุงให้ค่าเก็บรักษาข้าวเปลือก
ตันละ 500 บาท ปรับเป็น “ให้เกษตรกรได้รับตันละ 1,000 บาท และสหกรณ์ได้รับตันละ 500 บาท”
(2) เกษตรกรและสถาบันเกษตรกร ต้องเก็บรักษาข้าวเปลือกหลักประกันไว้ในยุ้งฉางหรือสถานที่เก็บของตนเองเท่านั้น
(3) ปรับปรุงวิธีการเก็บรักษาข้าวเปลือกของสถาบันเกษตรกร ต้องเก็บรักษาข้าวเปลือกโดยบรรจุข้าวเปลือกในกระสอบป่านหรือถุง Big bag และวางเรียงในยุ้งฉางหรือสถานที่เก็บเพื่อสะดวกในการตรวจสอบ หรือเก็บข้าวในยุ้งฉางที่ยกพื้นสูงหรือไซโล (SILO) ยกเว้นกรณีเทกองจะต้องมีระบบการระบายอากาศ เพื่อการรักษาคุณภาพข้าวเปลือกไม่ให้เสื่อมสภาพตลอดระยะเวลาโครงการ
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 15,668 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,675 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.05
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 7,785 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 7,712 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.95
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 34,050 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 11,750 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 11,670 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.68
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 1,139 ดอลลาร์สหรัฐฯ (35,964 บาท/ตัน)
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 416 ดอลลาร์สหรัฐฯ (13,135 บาท/ตัน)
ข้าวขาว 25% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 406 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,819 บาท/ตัน)
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 413 ดอลลาร์สหรัฐฯ (13,040 บาท/ตัน)
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 31.5750
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
กัมพูชา
สำนักงานบริการด้านการส่งออกข้าวของกัมพูชา (Secretariat of One Window Service for Rice Export Formality; SOWS-REF) รายงานการส่งออกข้าวในเดือนมีนาคม 2562 มีจำนวน 58,335 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.35
เมื่อเทียบกับจำนวน 52,861 ตัน ในเดือนกุมภาพันธ์ 2562 และเพิ่มขึ้นร้อยละ 15.1 เมื่อเทียบกับจำนวน 50,683 ตัน
ในเดือนมีนาคม 2561 โดยชนิดข้าวที่ส่งออกในเดือนมีนาคม 2562 ประกอบด้วย ข้าวหอมเกรด Premium เช่น Phka Rumduol / Phka Malis จำนวน 28,333 ตัน ข้าวหอมอื่นๆ เช่น Senkraob, Neang Suay จำนวน 24,207 ตัน
ข้าวขาวเมล็ดยาวจำนวน 5,188 ตัน และข้าวนึ่งเมล็ดยาวจำนวน 607 ตัน
ทั้งนี้ ในช่วง 3 เดือนแรกของปี กัมพูชาส่งออกข้าวแล้ว 170,821 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 6 เมื่อเทียบกับจำนวน 161,115 ตัน ในช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา โดยชนิดข้าวที่ส่งออกในช่วง 3 เดือนแรก ประกอบด้วย ข้าวหอมเกรด Premium เช่น Phka Rumduol / Phka Malis จำนวน 89,645 ตัน (เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.7 เมื่อเทียบกับปีที่แล้ว) ข้าวหอมอื่นๆ เช่น Senkraob, Neang Suay จำนวน 63,109 ตัน (เพิ่มขึ้นร้อยละ 60.6 เมื่อเทียบกับปีที่แล้ว) ข้าวขาวเมล็ดยาว
จำนวน 15,605 ตัน (ลดลงร้อยละ 43.5 เมื่อเทียบกับปีที่แล้ว) และข้าวนึ่งเมล็ดยาวจำนวน 2,462 ตัน (ลดลงร้อยละ 68.3 เมื่อเทียบกับปีที่แล้ว)
สำหรับประเทศที่กัมพูชาส่งออกข้าวในช่วง 3 เดือนแรกของปี ประกอบด้วย ประเทศจีนมากเป็นอันดับหนึ่ง
จำนวน 71,595 ตัน (เพิ่มขึ้นร้อยละ 72.9 เมื่อเทียบกับปีที่แล้ว) ประเทศฝรั่งเศส 20,258 ตัน (ลดลงร้อยละ 7.1 เมื่อเทียบกับปีที่แล้ว) ประเทศมาเลเซีย 9,473 ตัน (ลดลงร้อยละ 27.5 เมื่อเทียบกับปีที่แล้ว) ประเทศเนเธอร์แลนด์ 4,560 ตัน (ลดลงร้อยละ 36.1 เมื่อเทียบกับปีที่แล้ว) นอกจากนี้ยังส่งไปยังประเทศสเปน 4,383 ตัน และประเทศเยอรมนี 3,652 ตัน เป็นต้น
ทางด้านวงการค้าข้าว ระบุว่า แม้ว่าการส่งออกข้าวไปยังตลาดในสหภาพยุโรปจะลดลง แต่การส่งออกไปยังตลาดจีนเพิ่มขึ้น ซึ่งนาย Hun Lak รองประธานสหพันธ์ข้าวกัมพูชา (Cambodia Rice Federation; CRF) แสดงความเห็นว่า
การส่งออกที่เพิ่มขึ้นเป็นผลมาจากการที่รัฐบาลจีนเพิ่มโควตานำเข้าข้าวจากกัมพูชา เป็น 400,000 ตัน ในปีนี้ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแผนในการเพิ่มการค้าระหว่างสองประเทศให้ได้ 32 พันล้านบาท ภายในปี 2566 (ผู้นำของทั้งสองประเทศได้ตกลงกันในระหว่างพบปะกันเมื่อเดือนมกราคม ณ กรุงปักกิ่ง) พร้อมทั้งย้ำว่าผู้ส่งออกข้าวของกัมพูชาควรหันไปเน้นตลาดจีนมากขึ้น ในขณะที่การส่งออกไปยังสหภาพยุโรปค่อนข้างทรงตัว แม้จะได้รับผลกระทบจากมาตรการเก็บภาษีนำเข้าข้าวของสหภาพยุโรปที่ประกาศใช้ไปเมื่อกลางเดือนมกราคมที่ผ่านมา (เก็บภาษีนำเข้าปีแรกที่ 175 ยูโรต่อตัน หรือประมาณ 198 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน และลดลงเหลือ 150 และ 125 ยูโรต่อตัน ในปีที่สองและสาม ตามลำดับ) เนื่องจากผู้บริโภคยังคงมีความต้องการข้าวจากกัมพูชา แต่ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา การแข่งขันในตลาดสหภาพยุโรปเป็นไปอย่างรุนแรง เพราะกัมพูชาต้องแข่งขันกับข้าวจากประเทศอื่นๆ ด้วย
ทั้งนี้ ในปี 2561 มีการส่งออกข้าวจำนวน 626,225 ตัน ลดลงร้อยละ 1.48 เมื่อเทียบกับจำนวน 635,679 ตัน ในปี 2560 โดยส่งออกข้าวหอมทุกชนิด (Fragrant Rice) จำนวนรวม 493,597 ตัน (คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 79 ของการส่งออกข้าวทั้งหมด) เพิ่มขึ้นร้อยละ 25.27 เมื่อเทียบกับจำนวน 394,027 ตัน ในปี 2560 ส่วนการส่งออกข้าวขาว (White Rice) มีจำนวน 105,990 ตัน (คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 17 ของการส่งออกข้าวทั้งหมด) ลดลงร้อยละ 32.34 เมื่อเทียบกับ
จำนวน 156,654 ตัน ในปี 2560 และข้าวนึ่ง (Parboiled Rice) จำนวน 26,638 ตัน (คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 4 ของ
การส่งออกข้าวทั้งหมด) ลดลงร้อยละ 68.66 เมื่อเทียบกับจำนวน 84,998 ตัน ในปี 2560 สำหรับตลาดส่งออกที่สำคัญ ในปี 2561 ประกอบด้วย ตลาดสหภาพยุโรปจำนวน 269,127 ตัน (คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 43 ของการส่งออกข้าวทั้งหมด) ลดลงร้อยละ 2.77 เมื่อเทียบกับจำนวน 276,805 ตัน ในปี 2560 รองมาคือ ตลาดอาเซียนจำนวน 102,946 ตัน (คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 16 ของการส่งออกข้าวทั้งหมด) เพิ่มขึ้นร้อยละ 100.58 เมื่อเทียบกับจำนวน 51,325 ตัน
ในปี 2560 ตลาดจีนจำนวน 170,154 ตัน (คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 27 ของการส่งออกข้าวทั้งหมด) ลดลงร้อยละ 14.86 เมื่อเทียบกับจำนวน 199,857 ตัน ในปี 2560 และตลาดอื่นๆ จำนวน 83,998 ตัน (คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 13 ของ
การส่งออกข้าวทั้งหมด) ลดลงร้อยละ 22.0 เมื่อเทียบกับจำนวน 107,692 ตัน ในปี 2560
ปี 2561 กัมพูชาส่งออกข้าวไปยังประเทศจีนมากเป็นอันดับ 1 จำนวนประมาณ 170,154 ตัน ลดลงร้อยละ 14.9 เมื่อเทียบกับจำนวน 199,857 ตัน ในปี 2560 ลองมาคือ ประเทศฝรั่งเศส 86,050 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.2 เมื่อเทียบกับจำนวน 77,363 ตัน ในปี 2560 มาเลเซีย 40,861 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.5 เมื่อเทียบกับจำนวน 38,360 ตัน ในปี 2560 โปแลนด์ 23,142 ตัน ลดลงร้อยละ 47.4 เมื่อเทียบกับจำนวน 44,023 ตัน ในปี 2560 เนเธอร์แลนด์ 26,714 ตัน ลดลงร้อยละ 1.7 เมื่อเทียบกับจำนวน 27,175 ตัน ในปี 2560 สหราชอาณาจักร 18,178 ตัน ลดลงร้อยละ 32.1 เมื่อเทียบกับจำนวน 26,775 ตัน ในปี 2560 กาบอง 33,060 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 34.0 เมื่อเทียบกับจำนวน 24,677 ตัน ในปี 2560 ส่วนประเทศอื่นๆ ที่กัมพูชาส่งออกในปี 2561 เช่น เวียดนาม 26,712 ตัน และไทย 23,816 ตัน เป็นต้น
ที่มา : สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
เมียนมาร์
สมาคมผู้ค้าข้าวเปลือกและข้าวสารเมียนมาร์ (The Myanmar Rice and Paddy Traders’ Association)
กำหนดราคาขายส่งข้าวเมล็ดยาวไว้ที่ 19,500 จ๊าดต่อถุง 49 กิโลกรัม หรือประมาณ 410 บาท (ประมาณ 635 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน) หลังจากราคาข้าวในประเทศปรับตัวลดลง เนื่องจากอุปทานข้าวในประเทศเพิ่มขึ้นท่ามกลางภาวะความต้องการข้าวจากต่างประเทศ โดยเฉพาะการส่งออกข้าวไปยังประเทศจีนทางแนวชายแดนลดลง และจากที่สหภาพยุโรปประกาศใช้มาตรการเก็บภาษีนำเข้าข้าวในอัตราสูง (เก็บภาษีเท่ากับกรณีของกัมพูชา)
ทั้งนี้ ราคาข้าวในประเทศปรับลดลงมาอยู่ที่ระดับประมาณ 19,000 จ๊าดต่อถุง 49 กิโลกรัม เมื่อช่วงกลางเดือนมกราคม หลังจากสหภาพยุโรปประกาศใช้มาตรการทางภาษีกับเมียนมาร์และกัมพูชา ส่งผลให้ราคาข้าวปรับลดลงมากเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมาที่ราคาประมาณ 26,000 จ๊าดต่อถุง 49 กิโลกรัม (ประมาณ 856 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน)
ที่มา : สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
กราฟราคาที่เกษตรกรขายได้ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% และราคาขายส่งตลาด กทม. ข้าวสารเจ้า 5%
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดภายในประเทศในช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5 % สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 7.71 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 7.94 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.90 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5 % สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.03 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 6.23 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.21
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อสัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.93 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 8.94 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.11 และราคาขายส่งไซโลรับซื้อสัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.15 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 294.50 ดอลลาร์สหรัฐ (9,301 บาท/ตัน) ลดลงจากตันละ 295.00 ดอลลาร์สหรัฐ (9,290 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.17 และลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 11 บาท
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนพฤษภาคม 2562 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 361.00 เซนต์ (4,549 บาท/ตัน) ลดลงจากบุชเชลละ 361.44 เซนต์ (4,542 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.12 และลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 7 บาท
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลัง ปี 2562 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2561 – กันยายน 2562) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.72 ล้านไร่ ผลผลิต 31.55 ล้านตัน ผลผลลิตต่อไร่ 3.62 ตัน เมื่อเทียบกับปี 2561 ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.33 ล้านไร่ ผลผลิต 29.37 ล้านตัน
และผลผลิตต่อไร่ 3.53 ตัน พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ สูงขึ้นร้อยละ 4.68 ร้อยละ 7.42 และร้อยละ 2.55 ตามลำดับ โดยเดือนเมษายน 2562 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 1.66 ล้านตัน (ร้อยละ 5.25 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2562 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2562 ปริมาณ 21.14 ล้านตัน (ร้อยละ 67 ของผลผลิตทั้งหมด)
การตลาด
ผลผลิตมันสำปะหลังออกสู่ตลาดมาก แต่ราคามันสำปะหลังยังอยู่ในเกณฑ์ดี ทั้งนี้หัวมันสำปะหลังส่วนใหญ่ไหลเข้าสู่โรงงานแป้งมันสำปะหลัง สำหรับลานมันเส้นเปิดดำเนินการไม่มาก
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2.12 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 2.15 บาท ในสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 1.40
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.34 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.2 บาท ในสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 0.95
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.30 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6. บาท ในสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 0.16
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต กรุงเทพและปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.75 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 218 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,885 บาทต่อตัน) ราคาลดลงจากตันละ 220 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,928 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.91
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 463 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,622 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน (14,580 บาทต่อตัน)
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2562 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนเมษายนจะมีประมาณ 1.600 ล้านตัน
คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.288 ล้านตัน ลดลงจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.668 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.300 ล้านตัน ของเดือนมีนาคม คิดเป็นร้อยละ 4.08 และร้อยละ 4.00 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 1.96 บาท ลดลงจาก กก.ละ 2.20 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 10.91
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 14.94 บาท สูงขึ้นจาก กก.ละ 14.90 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.27
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาน้ำมันปาล์มมาเลเซียปรับตัวสูงขึ้น
แหล่งข่าวรอยเตอร์ รายงานว่า ราคาน้ำมันปาล์มดิบของมาเลเซียปรับตัวสูงขึ้นอยู่ที่ 2,204 ริงกิตต่อตัน (540.06 ดอลลาร์สหรัฐฯ) เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.3 เนื่องจากความต้องการนำเข้าเพิ่มขึ้นในช่วงเดือนรอมฎอนที่จะเริ่มในต้นเดือนพฤษภาคม 2562 ส่งผลให้การส่งออกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 23.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของเดือนที่ผ่านมา และจากการสำรวจผลผลิตปาล์มน้ำมันของมาเลเซียคาดว่าผลผลิตเพิ่มขึ้นในเดือนมีนาคม เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.8 จากเดือนภุมภาพันธ์ ปริมาณอยู่ที่ 1.65 ล้านตัน อย่างไรก็ตาม คาดว่าราคาน้ำมันปาล์มดิบของมาเลเซียมีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้น
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 2,110.99 ดอลลาร์มาเลเซีย (16.63 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 2,029.54 ดอลลาร์มาเลเซีย (16.02 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 4.01
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 535.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (17.11 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 510.65 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16.30 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 4.77
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน
อ้อยและน้ำตาล
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
รายงานการผลิตน้ำตาลทรายของโรงงานน้ำตาลทั่วประเทศ
ศูนย์บริหารการผลิต สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทรายได้รายงานการเก็บเกี่ยวอ้อยและการผลิตน้ำตาลทรายตั้งแต่วันที่ 20 พฤศจิกายน 2561 จนถึงวันที่ 10 เมษายน 2562 ว่ามีอ้อยเก็บเกี่ยวเข้าโรงงานน้ำตาลไปแล้วจำนวน 129,616,660 ตัน ผลิตเป็นน้ำตาลได้ 14,378,642 ตัน แยกเป็นน้ำตาลทรายดิบ 11,276,179 ตัน และน้ำตาลทรายขาว 3,102,463 ตัน ค่าความหวานของอ้อยเฉลี่ย 12.63 ซี.ซี.เอส. ผลผลิต น้ำตาลทรายเฉลี่ยต่อตันอ้อย 110.93 กก.ต่อตันอ้อย
2. สรุปภาวการณ์ผลิตการตลาดและราคาในต่างประเทศ
รายงานการผลิตน้ำตาลทรายของโรงงานน้ำตาลทั่วประเทศ
ศูนย์บริหารการผลิต สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทรายได้รายงานการเก็บเกี่ยวอ้อยและการผลิตน้ำตาลทรายตั้งแต่วันที่ 20 พฤศจิกายน 2561 จนถึงวันที่ 10 เมษายน 2562 ว่ามีอ้อยเก็บเกี่ยวเข้าโรงงานน้ำตาลไปแล้วจำนวน 129,616,660 ตัน ผลิตเป็นน้ำตาลได้ 14,378,642 ตัน แยกเป็นน้ำตาลทรายดิบ 11,276,179 ตัน และน้ำตาลทรายขาว 3,102,463 ตัน ค่าความหวานของอ้อยเฉลี่ย 12.63 ซี.ซี.เอส. ผลผลิต น้ำตาลทรายเฉลี่ยต่อตันอ้อย 110.93 กก.ต่อตันอ้อย
2. สรุปภาวการณ์ผลิตการตลาดและราคาในต่างประเทศ
ถั่วเหลือง
ยางพารา
สับปะรด
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.85 บาท ลดลงจากราคากิโลกรัมละ 23.98 บาท ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 0.54
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ และถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท สูงขึ้นจากราคากิโลกรัมละ 27.80 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.72
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 25.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 25.00 บาท สูงขึ้นจากราคากิโลกรัมละ 24.80 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.81
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 16.00 บาท สูงขึ้นจากราคากิโลกรัมละ 15.60 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.56
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 917.75 ดอลลาร์สหรัฐ (28.96 บาท/กิโลกรัม) สูงขึ้นจากตันละ 913.80 ดอลลาร์สหรัฐ (28.78 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.43 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.18 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 822.00 ดอลลาร์สหรัฐ (25.94 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 824.40 ดอลลาร์สหรัฐ (25.96 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.29 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 822.00 ดอลลาร์สหรัฐ (25.94 บาท/กิโลกรัม) สูงขึ้นจากตันละ 818.00 ดอลลาร์สหรัฐ (25.76 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.49 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.18 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 535.50 ดอลลาร์สหรัฐ (16.90 บาท/กิโลกรัม) สูงขึ้นจากตันละ 524.20 ดอลลาร์สหรัฐ (16.51 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.16 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.39 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 879.75 ดอลลาร์สหรัฐ (27.77 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 881.60 ดอลลาร์สหรัฐ (27.76 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.21 แต่สูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.85 บาท ลดลงจากราคากิโลกรัมละ 23.98 บาท ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 0.54
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ และถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท สูงขึ้นจากราคากิโลกรัมละ 27.80 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.72
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 25.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 25.00 บาท สูงขึ้นจากราคากิโลกรัมละ 24.80 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.81
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 16.00 บาท สูงขึ้นจากราคากิโลกรัมละ 15.60 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.56
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 917.75 ดอลลาร์สหรัฐ (28.96 บาท/กิโลกรัม) สูงขึ้นจากตันละ 913.80 ดอลลาร์สหรัฐ (28.78 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.43 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.18 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 822.00 ดอลลาร์สหรัฐ (25.94 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 824.40 ดอลลาร์สหรัฐ (25.96 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.29 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 822.00 ดอลลาร์สหรัฐ (25.94 บาท/กิโลกรัม) สูงขึ้นจากตันละ 818.00 ดอลลาร์สหรัฐ (25.76 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.49 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.18 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 535.50 ดอลลาร์สหรัฐ (16.90 บาท/กิโลกรัม) สูงขึ้นจากตันละ 524.20 ดอลลาร์สหรัฐ (16.51 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.16 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.39 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 879.75 ดอลลาร์สหรัฐ (27.77 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 881.60 ดอลลาร์สหรัฐ (27.76 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.21 แต่สูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 61.16 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 62.73 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อย 2.50
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 26.64 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 26.81 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อย 0.63
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 60.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 51.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 61.16 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 62.73 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อย 2.50
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 26.64 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 26.81 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อย 0.63
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 60.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 51.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ฝ้าย
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้
ราคาฝ้ายรวมเมล็ดชนิดคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาซื้อ-ขายล่วงหน้าตลาดนิวยอร์ก (New York Cotton Futures)
ราคาซื้อ-ขายล่วงหน้า เพื่อส่งมอบเดือนพฤษภาคม 2562 สัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 78.22 เซนต์ (กิโลกรัมละ 55.01 บาท) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 77.37 เซนต์ (กิโลกรัมละ 54.44 บาท) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.10 และสูงขึ้นในรูปของเงินบาทกิโลกรัมละ 0.57 บาท
ราคาฝ้ายรวมเมล็ดชนิดคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาซื้อ-ขายล่วงหน้าตลาดนิวยอร์ก (New York Cotton Futures)
ราคาซื้อ-ขายล่วงหน้า เพื่อส่งมอบเดือนพฤษภาคม 2562 สัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 78.22 เซนต์ (กิโลกรัมละ 55.01 บาท) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 77.37 เซนต์ (กิโลกรัมละ 54.44 บาท) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.10 และสูงขึ้นในรูปของเงินบาทกิโลกรัมละ 0.57 บาท
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,607 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 1,612 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.31
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,294 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 1,301 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.51
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 842 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,294 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 1,301 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.51
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 842 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ในสัปดาห์นี้ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากภาวะอากาศที่เริ่มร้อนขึ้นทำให้สุกรเจริญเติบโตช้า ส่งผลให้ปริมาณสุกรออกสู่ตลาดไม่มากนัก แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 68.45 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.88 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.84 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 66.37 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 64.48 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 68.85 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 71.00 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 2,100 บาท (บวกลบ 70 บาท) ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 73.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ในสัปดาห์นี้ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากภาวะอากาศที่เริ่มร้อนขึ้นทำให้สุกรเจริญเติบโตช้า ส่งผลให้ปริมาณสุกรออกสู่ตลาดไม่มากนัก แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 68.45 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.88 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.84 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 66.37 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 64.48 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 68.85 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 71.00 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 2,100 บาท (บวกลบ 70 บาท) ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 73.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้ค่อนข้างทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตไก่เนื้อออกสู่ตลาดใกล้เคียงกับความต้องการบริโภคที่อ่อนตัวลงเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 36.64 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 36.75 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.30 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 35.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 36.53 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 39.88 บาท และภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 11.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.50 บาท และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 47.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ภาวะตลาดสัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้ค่อนข้างทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตไก่เนื้อออกสู่ตลาดใกล้เคียงกับความต้องการบริโภคที่อ่อนตัวลงเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 36.64 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 36.75 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.30 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 35.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 36.53 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 39.88 บาท และภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 11.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.50 บาท และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 47.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ปรับตัวสูงขึ้นจากสัปดาห์ที่ผ่านมา ถึงแม้ว่าการเลี้ยงไข่ไก่ในระบบปิดแล้วก็ตาม เนื่องจากสภาพอากาศค่อนข้างแปรปรวน ในหลายพื้นที่เริ่มร้อนจัดและอบอ้าว ส่งผลให้แม่ไก่ออกไข่ไม่มากนัก แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 266 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 263 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.14 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 287 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 280 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 255 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 15.00 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 10.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 50.00
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0-4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 281 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ปรับตัวสูงขึ้นจากสัปดาห์ที่ผ่านมา ถึงแม้ว่าการเลี้ยงไข่ไก่ในระบบปิดแล้วก็ตาม เนื่องจากสภาพอากาศค่อนข้างแปรปรวน ในหลายพื้นที่เริ่มร้อนจัดและอบอ้าว ส่งผลให้แม่ไก่ออกไข่ไม่มากนัก แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 266 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 263 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.14 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 287 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 280 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 255 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 15.00 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 10.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 50.00
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0-4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 281 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 325 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 326 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.31 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 340 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 330 บาท ภาคกลาง ร้อยฟองละ 301 บาท และภาคใต้ ร้อยฟองละ 373 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 340 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 325 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 326 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.31 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 340 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 330 บาท ภาคกลาง ร้อยฟองละ 301 บาท และภาคใต้ ร้อยฟองละ 373 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 340 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 89.40 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 89.24 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.18 โดยเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 85.07 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 85.23 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 88.07 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 101.72 บาท
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 89.40 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 89.24 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.18 โดยเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 85.07 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 85.23 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 88.07 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 101.72 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 69.41 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 69.13 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.41 แยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 90.72 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 65.30 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงานราคา
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 69.41 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 69.13 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.41 แยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 90.72 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 65.30 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงานราคา
ตารางปศุสัตว์ ราคาเกษตรกรขายได้ ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ และราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี(ปศุสัตว์)
ประมง
1. สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
การผลิต
เปลี่ยนถ่ายกระชังลูกใหม่หรือเพิ่มออกซิเจนในน้ำนช่วงดังกล่าวเป็นช่วงที่น้ำตาย โดยเฉพาะในช่วงกลางคืนบวกกับออกซิเจนในน้ำค่อนในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 5 – 11 เมษายน 2562) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้ คือ
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3-4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯเฉลี่ยกิโลกรัมละ 70.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 81.51 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 85.01 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 3.50 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 120.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัมเฉลี่ยกิโลกรัมละ152.45 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 153.07 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.62 บาท
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม เฉลี่ยกิโลกรัมละ 129.17 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 139.17 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 10.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาปลาทูสดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.09 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 82.35 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 5.26 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 85.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาปลาหมึกกระดองสดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 140.00 บาท บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 146.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 6.00 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 260.00 บาท ราคา ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.11 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.06 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.05 บาท
สำหรับราคาขายส่งปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% (ระหว่างวันที่ 5 – 11 เมษายน 2562) ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 25.29 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 25.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.29 บาท
1. สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
การผลิต
เปลี่ยนถ่ายกระชังลูกใหม่หรือเพิ่มออกซิเจนในน้ำนช่วงดังกล่าวเป็นช่วงที่น้ำตาย โดยเฉพาะในช่วงกลางคืนบวกกับออกซิเจนในน้ำค่อนในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 5 – 11 เมษายน 2562) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้ คือ
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3-4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯเฉลี่ยกิโลกรัมละ 70.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 81.51 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 85.01 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 3.50 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 120.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัมเฉลี่ยกิโลกรัมละ152.45 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 153.07 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.62 บาท
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม เฉลี่ยกิโลกรัมละ 129.17 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 139.17 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 10.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาปลาทูสดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.09 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 82.35 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 5.26 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 85.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาปลาหมึกกระดองสดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 140.00 บาท บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 146.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 6.00 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 260.00 บาท ราคา ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.11 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.06 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.05 บาท
สำหรับราคาขายส่งปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% (ระหว่างวันที่ 5 – 11 เมษายน 2562) ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 25.29 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 25.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.29 บาท