- ข้อมูลเศรษฐกิจการเกษตร
- ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร
- รายละเอียดภาวะเศรษฐกิจการเกษตร
ข้อมูลเศรษฐกิจการเกษตร
สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 18-24 พ.ค. 61
ข้าว
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การตลาด
มาตรการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าวปีการผลิต 2560/61
มติที่ประชุม ครม. เห็นชอบมาตรการฯ จำนวน 13 โครงการ ดังนี้มติที่ประชุม ครม. เห็นชอบมาตรการฯ จำนวน 13 โครงการ ดังนี้
1) ด้านการผลิต มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2560 วันที่ 21 พฤศจิกายน 2560และวันที่ 12ธันวาคม 2560 เห็นชอบโครงการฯ ได้แก่
- โครงการส่งเสริมการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวหอมมะลิคุณภาพดี
- โครงการส่งเสริมระบบการเกษตรแบบนาแปลงใหญ่ (นาแปลงใหญ่ หลักเกณฑ์ใหม่)
- โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวอินทรีย์
- โครงการส่งเสริมการปลูกพืชหลากหลาย ฤดูนาปรัง ปี 2561
- โครงการปลูกพืชปุ๋ยสด ฤดูนาปรัง ปี 2561
- โครงการขยายการส่งเสริมการปลูกพืชหลากหลาย ฤดูนาปรัง ปี 2561
- โครงการขยายการปลูกพืชปุ๋ยสด ฤดูนาปรัง ปี 2561และ
- โครงการส่งเสริมการปลูกพืชอาหารสัตว์ ฤดูนาปรัง ปี 2561
2) ด้านการตลาด มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2560 และเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2560 เห็นชอบโครงการฯ ได้แก่
- โครงการเชื่อมโยงตลาดข้าวอินทรีย์และข้าว GAP ครบวงจร
- โครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร
- โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือกนาปีและการช่วยเหลือค่าเก็บเกี่ยวและปรับปรุงคุณภาพข้าวให้แก่เกษตรกรรายย่อยผู้ปลูกข้าวนาปี และ
- โครงการชดเชยดอกเบี้ยให้ผู้ประกอบการค้าข้าวในการเก็บสต็อก
3) ด้านการเงิน มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2560 เห็นชอบ โครงการประกันภัยข้าวนาปี ปีการผลิต 2560
มาตรการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าวปีการผลิต 2560/61
มติที่ประชุม ครม. เห็นชอบมาตรการฯ จำนวน 13 โครงการ ดังนี้มติที่ประชุม ครม. เห็นชอบมาตรการฯ จำนวน 13 โครงการ ดังนี้
1) ด้านการผลิต มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2560 วันที่ 21 พฤศจิกายน 2560และวันที่ 12ธันวาคม 2560 เห็นชอบโครงการฯ ได้แก่
- โครงการส่งเสริมการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวหอมมะลิคุณภาพดี
- โครงการส่งเสริมระบบการเกษตรแบบนาแปลงใหญ่ (นาแปลงใหญ่ หลักเกณฑ์ใหม่)
- โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวอินทรีย์
- โครงการส่งเสริมการปลูกพืชหลากหลาย ฤดูนาปรัง ปี 2561
- โครงการปลูกพืชปุ๋ยสด ฤดูนาปรัง ปี 2561
- โครงการขยายการส่งเสริมการปลูกพืชหลากหลาย ฤดูนาปรัง ปี 2561
- โครงการขยายการปลูกพืชปุ๋ยสด ฤดูนาปรัง ปี 2561และ
- โครงการส่งเสริมการปลูกพืชอาหารสัตว์ ฤดูนาปรัง ปี 2561
2) ด้านการตลาด มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2560 และเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2560 เห็นชอบโครงการฯ ได้แก่
- โครงการเชื่อมโยงตลาดข้าวอินทรีย์และข้าว GAP ครบวงจร
- โครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร
- โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือกนาปีและการช่วยเหลือค่าเก็บเกี่ยวและปรับปรุงคุณภาพข้าวให้แก่เกษตรกรรายย่อยผู้ปลูกข้าวนาปี และ
- โครงการชดเชยดอกเบี้ยให้ผู้ประกอบการค้าข้าวในการเก็บสต็อก
3) ด้านการเงิน มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2560 เห็นชอบ โครงการประกันภัยข้าวนาปี ปีการผลิต 2560
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 15,531 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,541 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.06
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 8,094 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 8,003 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.14
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 35,870 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 34,850 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.93
ข้าวขาว5% (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 12,950 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 1,225 ดอลลาร์สหรัฐฯ (39,040 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 1,191 ดอลลาร์สหรัฐฯ (37,765 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.85 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 1,275 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 450 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,341 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 449 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,237 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.22 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 104 บาท
ข้าวขาว 25% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 436 ดอลลาร์สหรัฐฯ (13,895 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 435 ดอลลาร์สหรัฐฯ (13,793 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 102 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 434 ดอลลาร์สหรัฐฯ (13,831 บาท/ตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน แต่สูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 69 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 31.8695
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 15,531 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,541 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.06
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 8,094 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 8,003 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.14
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 35,870 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 34,850 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.93
ข้าวขาว5% (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 12,950 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 1,225 ดอลลาร์สหรัฐฯ (39,040 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 1,191 ดอลลาร์สหรัฐฯ (37,765 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.85 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 1,275 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 450 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,341 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 449 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,237 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.22 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 104 บาท
ข้าวขาว 25% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 436 ดอลลาร์สหรัฐฯ (13,895 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 435 ดอลลาร์สหรัฐฯ (13,793 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 102 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 434 ดอลลาร์สหรัฐฯ (13,831 บาท/ตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน แต่สูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 69 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 31.8695
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) การผลิต
ผลผลิตข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์ผลผลิตข้าวโลกปี 2561/62 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561 ว่าจะมีผลผลิต 489.500 ล้านตันข้าวสาร สูงขึ้นจาก 488.229 ล้านตันข้าวสาร หรือสูงขึ้นร้อยละ 0.32 จากปี 2560/61
2) การค้าข้าวโลก
บัญชีสมดุลข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์บัญชีสมดุลข้าวโลกปี 2561/62 ณ เดือนพฤษภาคม 2561 ผลผลิต ปี 2561/62 มีปริมาณ 489.500 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2560/61 ร้อยละ 0.32 การใช้ในประเทศจะมี 488.630 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 0.30 การส่งออก/นำเข้าจะมี 49.506 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 1.70 และสต็อกปลายปีคงเหลือ 144.684 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 5.15
โดยประเทศที่คาดว่าจะส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ กัมพูชา จีน กายานา ปารากวัย รัสเซีย สหรัฐอเมริกา และไทย ส่วนประเทศที่คาดว่าจะส่งออกลดลง ได้แก่ บราซิล อินเดีย และอุรุกวัย
สำหรับประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าเพิ่มขึ้น ได้แก่ เบนิน บราซิล เบอร์กินา คาเมรูน ไอเวอรี่โคสต์ อียู กินี อิหร่าน อิรัก เคนย่า มาเลเซีย เม็กซิโก โมแซมบิค ไนจีเรีย ซาอุดิอาระเบีย เซเนกัล และสหรัฐอาหรับเอมิเรส ส่วนประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าลดลง ได้แก่ บังคลาเทศ กานา อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์
ประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีเพิ่มขึ้น ได้แก่ บังกลาเทศ จีน อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ไทย และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่คาดว่าจะมีสต็อกคงเหลือปลายปีลดลง ได้แก่ อินเดีย และญี่ปุ่น
2.1 สถานการณ์ข้าวโลก
1) การผลิต
ผลผลิตข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์ผลผลิตข้าวโลกปี 2561/62 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561 ว่าจะมีผลผลิต 489.500 ล้านตันข้าวสาร สูงขึ้นจาก 488.229 ล้านตันข้าวสาร หรือสูงขึ้นร้อยละ 0.32 จากปี 2560/61
2) การค้าข้าวโลก
บัญชีสมดุลข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์บัญชีสมดุลข้าวโลกปี 2561/62 ณ เดือนพฤษภาคม 2561 ผลผลิต ปี 2561/62 มีปริมาณ 489.500 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2560/61 ร้อยละ 0.32 การใช้ในประเทศจะมี 488.630 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 0.30 การส่งออก/นำเข้าจะมี 49.506 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 1.70 และสต็อกปลายปีคงเหลือ 144.684 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 5.15
โดยประเทศที่คาดว่าจะส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ กัมพูชา จีน กายานา ปารากวัย รัสเซีย สหรัฐอเมริกา และไทย ส่วนประเทศที่คาดว่าจะส่งออกลดลง ได้แก่ บราซิล อินเดีย และอุรุกวัย
สำหรับประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าเพิ่มขึ้น ได้แก่ เบนิน บราซิล เบอร์กินา คาเมรูน ไอเวอรี่โคสต์ อียู กินี อิหร่าน อิรัก เคนย่า มาเลเซีย เม็กซิโก โมแซมบิค ไนจีเรีย ซาอุดิอาระเบีย เซเนกัล และสหรัฐอาหรับเอมิเรส ส่วนประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าลดลง ได้แก่ บังคลาเทศ กานา อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์
ประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีเพิ่มขึ้น ได้แก่ บังกลาเทศ จีน อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ไทย และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่คาดว่าจะมีสต็อกคงเหลือปลายปีลดลง ได้แก่ อินเดีย และญี่ปุ่น
2.1 สถานการณ์ข้าวโลก
เวียดนาม
ภาวะราคาข้าวเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมาปรับตัวสูงใกล้ระดับสูงสุดในรอบ 4 ปีท่ามกลางภาวะความต้องการข้าวจากต่างประเทศที่เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะจากข่าวที่อินโดนีเซียเตรียมจะซื้อข้าวเพิ่มอีก 500,000 ตัน ในเร็วๆ นี้ ขณะที่อุปทานข้าวในตลาดภายในประเทศมีจำกัด โดยราคาข้าวขาว 5% อยู่ที่ 460-465 ดอลลาร์สหรัฐฯต่อตัน เพิ่มขึ้นจาก 455-460 ดอลลาร์สหรัฐฯต่อตัน เมื่อสัปดาห์ก่อน ซึ่งถือเป็นระดับสูงที่สุดนับตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2557
ขณะเดียวกันวงการค้าข้าวติดตามความคืบหน้าของการประมูลซื้อข้าวของรัฐบาลฟิลิปปินส์จำนวน 250,000 ตัน ที่จะจัดขึ้นเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม ซึ่งคาดว่าบริษัทเวียดนามจะประมูลได้จำนวนมาก ส่วนอินโดนีเซีย คาดว่าจะใช้วิธีซื้อตรงจากบริษัท Vietnam Southern Food Corp และ Vietnam Northern Food Corp มากกว่าที่จะใช้วิธีเปิดประมูลซื้อ
ที่มา : สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
อินโดนีเซีย
อินโดนีเซีย กระทรวงการค้า (The Trade Ministry) ได้ออกใบอนุญาตให้หน่วยงาน BULOG (State Logistics Agency) นำเข้าข้าวเพิ่มได้อีก 500,000 ตัน ในปีนี้ หลังจากที่ก่อนหน้านี้ได้ออกใบอนุญาตให้นำเข้าปริมาณที่เท่ากันเมื่อช่วงต้นที่ผ่านมา โดยคากว่าจะนำเข้าจากประเทศไทย เวียดนาม กัมพูชา อินเดีย ปากีสถาน และเมียนมาร์ ภายในเดือนกรกฎาคมนี้ เพื่อรักษาเสถียรภาพของราคาข้าวในประเทศที่ยังคงอยู่ในระดับสูงกว่าราคาเพดานที่รัฐบาลกำหนดไว้ที่ 9,400 รูเปียห์ต่อกิโลกรัม ในหลายพื้นที่ เช่น Java, Lampung, South Sumatra, Bali. West Nusa Tenggara และ Sulawesi
ทั้งนี้ เมื่อปลายเดือนมีนาคมที่ผ่านมา หน่วยงาน BULOG ได้ซื้อข้าวขาว 5% จากบริษัทเอกชนของไทย จำนวน 200,000 ตัน ในราคา 473.8 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน C&F และข้าวขาว 15% จากเวียดนาม จำนวน 300,000 ตัน ในราคา 465.9 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน C&F
ที่มา : สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
จีน
กระทรวงเกษตร ระบุว่า ทางการจีนมีแผนที่จะลดพื้นที่เพาะปลูกข้าวและข้าวโพดในปีนี้ แต่จะเพิ่มพื้นที่ เพาะปลูกถั่วเหลืองและธัญพืชชนิดอื่นๆ โดยคาดว่าพื้นที่เพาะปลูกข้าวจะลดลงประมาณ 10 ล้าน Mu (1 Mu เท่ากับประมาณ 0.06667 เฮคตาร์ หรือประมาณ 4.17 ล้านไร่) จากปกติเมื่อปีที่แล้วมีพื้นที่เพาะปลูกข้าวประมาณ 440 ล้าน Mu หรือประมาณ 183.3 ล้านไร่
สำนักข่าว Reuters รายงานว่า การประมูลขายข้าวจากสต็อกของรัฐบาล เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคมที่ผ่านมา ศูนย์การค้าธัญพืชแห่งชาติ (the National Grain Trade Center) สามารถระบายข้าวได้ประมาณ 260,464 ตัน(จากที่นำมาประมูลทั้งหมดประมาณ 2.37 ล้านตัน) โดยราคาเฉลี่ยที่ขายได้อยู่ที่ประมาณ 2,297 หยวนต่อตัน หรือ ประมาณ 361.80 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน ขณะที่การประมูลขายข้าว เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคมที่ผ่านมา ศูนย์การค้าธัญพืชแห่งชาติสามารถระบายข้าวได้ประมาณ 71,074 ตัน (จากที่นำมาประมูลทั้งหมดประมาณ 1.019 ล้านตัน) โดยราคาเฉลี่ยที่ขายได้อยู่ที่ประมาณ 2,701 หยวนต่อตัน หรือประมาณ 423.23 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน
ที่มา : สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
ราคาขายส่งตลาด กทม.
สมุดข้าวโลก
ภาวะราคาข้าวเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมาปรับตัวสูงใกล้ระดับสูงสุดในรอบ 4 ปีท่ามกลางภาวะความต้องการข้าวจากต่างประเทศที่เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะจากข่าวที่อินโดนีเซียเตรียมจะซื้อข้าวเพิ่มอีก 500,000 ตัน ในเร็วๆ นี้ ขณะที่อุปทานข้าวในตลาดภายในประเทศมีจำกัด โดยราคาข้าวขาว 5% อยู่ที่ 460-465 ดอลลาร์สหรัฐฯต่อตัน เพิ่มขึ้นจาก 455-460 ดอลลาร์สหรัฐฯต่อตัน เมื่อสัปดาห์ก่อน ซึ่งถือเป็นระดับสูงที่สุดนับตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2557
ขณะเดียวกันวงการค้าข้าวติดตามความคืบหน้าของการประมูลซื้อข้าวของรัฐบาลฟิลิปปินส์จำนวน 250,000 ตัน ที่จะจัดขึ้นเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม ซึ่งคาดว่าบริษัทเวียดนามจะประมูลได้จำนวนมาก ส่วนอินโดนีเซีย คาดว่าจะใช้วิธีซื้อตรงจากบริษัท Vietnam Southern Food Corp และ Vietnam Northern Food Corp มากกว่าที่จะใช้วิธีเปิดประมูลซื้อ
ที่มา : สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
อินโดนีเซีย
อินโดนีเซีย กระทรวงการค้า (The Trade Ministry) ได้ออกใบอนุญาตให้หน่วยงาน BULOG (State Logistics Agency) นำเข้าข้าวเพิ่มได้อีก 500,000 ตัน ในปีนี้ หลังจากที่ก่อนหน้านี้ได้ออกใบอนุญาตให้นำเข้าปริมาณที่เท่ากันเมื่อช่วงต้นที่ผ่านมา โดยคากว่าจะนำเข้าจากประเทศไทย เวียดนาม กัมพูชา อินเดีย ปากีสถาน และเมียนมาร์ ภายในเดือนกรกฎาคมนี้ เพื่อรักษาเสถียรภาพของราคาข้าวในประเทศที่ยังคงอยู่ในระดับสูงกว่าราคาเพดานที่รัฐบาลกำหนดไว้ที่ 9,400 รูเปียห์ต่อกิโลกรัม ในหลายพื้นที่ เช่น Java, Lampung, South Sumatra, Bali. West Nusa Tenggara และ Sulawesi
ทั้งนี้ เมื่อปลายเดือนมีนาคมที่ผ่านมา หน่วยงาน BULOG ได้ซื้อข้าวขาว 5% จากบริษัทเอกชนของไทย จำนวน 200,000 ตัน ในราคา 473.8 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน C&F และข้าวขาว 15% จากเวียดนาม จำนวน 300,000 ตัน ในราคา 465.9 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน C&F
ที่มา : สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
จีน
กระทรวงเกษตร ระบุว่า ทางการจีนมีแผนที่จะลดพื้นที่เพาะปลูกข้าวและข้าวโพดในปีนี้ แต่จะเพิ่มพื้นที่ เพาะปลูกถั่วเหลืองและธัญพืชชนิดอื่นๆ โดยคาดว่าพื้นที่เพาะปลูกข้าวจะลดลงประมาณ 10 ล้าน Mu (1 Mu เท่ากับประมาณ 0.06667 เฮคตาร์ หรือประมาณ 4.17 ล้านไร่) จากปกติเมื่อปีที่แล้วมีพื้นที่เพาะปลูกข้าวประมาณ 440 ล้าน Mu หรือประมาณ 183.3 ล้านไร่
สำนักข่าว Reuters รายงานว่า การประมูลขายข้าวจากสต็อกของรัฐบาล เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคมที่ผ่านมา ศูนย์การค้าธัญพืชแห่งชาติ (the National Grain Trade Center) สามารถระบายข้าวได้ประมาณ 260,464 ตัน(จากที่นำมาประมูลทั้งหมดประมาณ 2.37 ล้านตัน) โดยราคาเฉลี่ยที่ขายได้อยู่ที่ประมาณ 2,297 หยวนต่อตัน หรือ ประมาณ 361.80 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน ขณะที่การประมูลขายข้าว เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคมที่ผ่านมา ศูนย์การค้าธัญพืชแห่งชาติสามารถระบายข้าวได้ประมาณ 71,074 ตัน (จากที่นำมาประมูลทั้งหมดประมาณ 1.019 ล้านตัน) โดยราคาเฉลี่ยที่ขายได้อยู่ที่ประมาณ 2,701 หยวนต่อตัน หรือประมาณ 423.23 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน
ที่มา : สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
ราคาขายส่งตลาด กทม.
สมุดข้าวโลก
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดภายในประเทศในช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5 % สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.63 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.11 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 6.41 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5 % สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.57 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.55 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.31
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อสัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ10.48 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 10.30 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.75 และราคาขายส่งไซโลรับซื้อสัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.76 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 9.51 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.63
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 341.80 ดอลลาร์สหรัฐ (10,893 บาท/ตัน) เพิ่มขึ้นจากตันละ 338.25 ดอลลาร์สหรัฐ (10,725 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.05 และเพิ่มขึ้น ในรูปของเงินบาทตันละ 168.00 บาท
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในต่างประเทศ
กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ คาดคะเนความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของโลก ปี 2561/62 ว่ามี 1,091.77 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1,069.34 ล้านตัน ในปี 2560/61 ร้อยละ 2.10 โดยจีน สหภาพยุโรป บราซิล เม็กซิโก อียิปต์ เวียดนาม แอฟริกาใต้ อินโดนีเซีย อาร์เจนตินา รัสเซีย และอิหร่าน มีความต้องการใช้เพิ่มขึ้น สำหรับการค้าของโลก มี 157.58 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 150.29 ล้านตัน ในปี 2560/61 ร้อยละ 4.85 โดยบราซิล อาร์เจนตินา ยูเครน รัสเซีย แอฟริกาใต้ แคนาดา เม็กซิโก และเซอร์เบีย ส่งออกเพิ่มขึ้น ประกอบกับ
ผู้นำเข้า เช่น เม็กซิโก เวียดนาม อียิปต์ อิหร่าน โคลัมเบีย แอลจีเรีย จีน ซาอุดิอาระเบีย มาเลเซีย เปรู โมรอกโค และตุรกี มีการนำเข้าเพิ่มขึ้น (ตารางแนบท้าย)
ราคาข้าวโพดภายในประเทศในช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5 % สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.63 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.11 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 6.41 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5 % สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.57 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.55 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.31
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อสัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ10.48 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 10.30 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.75 และราคาขายส่งไซโลรับซื้อสัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.76 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 9.51 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.63
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 341.80 ดอลลาร์สหรัฐ (10,893 บาท/ตัน) เพิ่มขึ้นจากตันละ 338.25 ดอลลาร์สหรัฐ (10,725 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.05 และเพิ่มขึ้น ในรูปของเงินบาทตันละ 168.00 บาท
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในต่างประเทศ
กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ คาดคะเนความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของโลก ปี 2561/62 ว่ามี 1,091.77 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1,069.34 ล้านตัน ในปี 2560/61 ร้อยละ 2.10 โดยจีน สหภาพยุโรป บราซิล เม็กซิโก อียิปต์ เวียดนาม แอฟริกาใต้ อินโดนีเซีย อาร์เจนตินา รัสเซีย และอิหร่าน มีความต้องการใช้เพิ่มขึ้น สำหรับการค้าของโลก มี 157.58 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 150.29 ล้านตัน ในปี 2560/61 ร้อยละ 4.85 โดยบราซิล อาร์เจนตินา ยูเครน รัสเซีย แอฟริกาใต้ แคนาดา เม็กซิโก และเซอร์เบีย ส่งออกเพิ่มขึ้น ประกอบกับ
ผู้นำเข้า เช่น เม็กซิโก เวียดนาม อียิปต์ อิหร่าน โคลัมเบีย แอลจีเรีย จีน ซาอุดิอาระเบีย มาเลเซีย เปรู โมรอกโค และตุรกี มีการนำเข้าเพิ่มขึ้น (ตารางแนบท้าย)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนกรกฎาคม 2561 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 404.44 เซนต์ (5,144 บาท/ตัน) เพิ่มขึ้นจากบุชเชลละ 397.88 เซนต์ 5,033 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.65 และเพิ่มขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 111.00 บาท
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลัง ปี 2561 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2560 – กันยายน 2561) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 7.87 ล้านไร่ ผลผลิต 27.24 ล้านตัน ผลผลลิตต่อไร่ 3.46 ตัน เมื่อเทียบกับปี 2560 ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.71 ล้านไร่ ผลผลิต 30.50 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3.50 ตัน พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 9.64, 10.69 และ 1.14 ตามลำดับ โดยเดือนพฤษภาคม 2561 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 1.35 ล้านตัน (ร้อยละ 4.96 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2561 ออกสู่ตลาดแล้ว (เดือนตุลาคม 2560 – เมษายน 2561) ปริมาณ 22.65 ล้านตัน (ร้อยละ 83.16 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2561 ออกสู่ตลาดแล้ว (เดือนตุลาคม 2560 – เมษายน 2561) ปริมาณ 22.65 ล้านตัน (ร้อยละ 83.16 ของผลผลิตทั้งหมด)
การตลาด
เป็นช่วงปลายฤดูกาลเก็บเกี่ยว ผลผลิตออกสู่ตลาดลดลง ส่งผลให้ผลผลิตมันสำปะหลังไม่เพียงพอต่อความต้องการของผู้ประกอบการมันสำปะหลัง ประกอบกับราคาส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังปรับตัวสูงขึ้น ส่งผลให้ราคาที่เกษตรกรขายได้ปรับตัวสูงขึ้นด้วย
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2.56 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.85 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.61 บาทในสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 4.28
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2.56 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.85 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.61 บาทในสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 4.28
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 7.20 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 7.22 บาท ในสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 0.28
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต กรุงเทพและปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 16.65 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 16.55 บาท ในสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 0.60
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต กรุงเทพและปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 16.65 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 16.55 บาท ในสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 0.60
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 243 ดอลลาร์สหรัฐฯ หรือตันละ 7,744 บาท ราคาลดลงในรูปเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ตันละ 9 ดอลลาร์สหรัฐฯ และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 247 บาท
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 553 ดอลลาร์สหรัฐฯ หรือตันละ 17,624 บาท ราคาทรงตัวในรูปเงินดอลลาร์สหรัฐฯ แต่สูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 89 บาท
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 553 ดอลลาร์สหรัฐฯ หรือตันละ 17,624 บาท ราคาทรงตัวในรูปเงินดอลลาร์สหรัฐฯ แต่สูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 89 บาท
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2561 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนพฤษภาคมจะมีประมาณ 1.506 ล้านตันคิด เป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.256 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.357 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.231 ล้านตัน ของเดือนเมษายน 2561 คิดเป็นร้อยละ 10.98 และร้อยละ 10.82 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 3.17 บาท สูงขึ้นจาก กก.ละ 2.99 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 6.02
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 20.70 บาท สูงขึ้นจาก กก.ละ 19.63 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 5.45
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบของมาเลเซียปรับตัวสูงขึ้น
ราคาน้ำมันปาล์มดิบซื้อขายล่วงหน้าตลาดมาเลเซียส่งมอบในเดือนสิงหาคม 2561 ปรับตัวสูงขึ้นอยู่ที่ 2,477 ริงกิตต่อตัน (626.64 ดอลลาร์สหรัฐฯ) เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.30 ซึ่งราคาน้ำมันปาล์มดิบปรับตัวเพิ่มขึ้นสูงสุดในรอบ 6 สัปดาห์ ตั้งแต่ 14 พฤษภาคม 2561 อยู่ที่ระดับ 2,485 ริงกิตต่อตัน เนื่องจากราคาน้ำมันพืชถั่วเหลืองที่แข่งขันในตลาดน้ำมันพืชโลกปรับตัวสูงขึ้น และราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันพืชถั่วเหลืองตลาดชิคาโกส่งมอบเดือนกรกฎาคม 2561 ปรับตัวสูงขึ้นร้อยละ 1.40 รวมทั้งคาดการณ์ว่าผลผลิตปาล์มน้ำมันในเดือนพฤษภาคมจะมีปริมาณลดลง ส่งผลให้ราคาน้ำมันปาล์มดิบมีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้น นอกจากนี้ราคาน้ำมันปาล์มดิบยังได้รับผลกระทบจากราคาน้ำมันดิบที่ใช้ผลิตไบโอดีเซล ทั้งนี้จากการรายงานของคณะกรรมการน้ำมันปาล์มมาเลเซีย (MPOB) ว่าการส่งออกน้ำมันปาล์มดิบของกลุ่มประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในเดือนเมษายน 2561 ปริมาณลดลงอยู่ที่ 1.56 ล้านตัน แต่การส่งออกน้ำมันปาล์มดิบยังคงอยู่ในระดับสูงสุดเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันตั้งแต่ปี 2558
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 2,446.55 ดอลลาร์มาเลเซีย (20.09 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 2,415.40 ดอลลาร์มาเลเซีย (19.79 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.29
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 669.17 ดอลลาร์สหรัฐฯ (21.61 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 656.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (21.09 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.93
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 3 วัน
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2561 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนพฤษภาคมจะมีประมาณ 1.506 ล้านตันคิด เป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.256 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.357 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.231 ล้านตัน ของเดือนเมษายน 2561 คิดเป็นร้อยละ 10.98 และร้อยละ 10.82 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 3.17 บาท สูงขึ้นจาก กก.ละ 2.99 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 6.02
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 20.70 บาท สูงขึ้นจาก กก.ละ 19.63 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 5.45
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบของมาเลเซียปรับตัวสูงขึ้น
ราคาน้ำมันปาล์มดิบซื้อขายล่วงหน้าตลาดมาเลเซียส่งมอบในเดือนสิงหาคม 2561 ปรับตัวสูงขึ้นอยู่ที่ 2,477 ริงกิตต่อตัน (626.64 ดอลลาร์สหรัฐฯ) เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.30 ซึ่งราคาน้ำมันปาล์มดิบปรับตัวเพิ่มขึ้นสูงสุดในรอบ 6 สัปดาห์ ตั้งแต่ 14 พฤษภาคม 2561 อยู่ที่ระดับ 2,485 ริงกิตต่อตัน เนื่องจากราคาน้ำมันพืชถั่วเหลืองที่แข่งขันในตลาดน้ำมันพืชโลกปรับตัวสูงขึ้น และราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันพืชถั่วเหลืองตลาดชิคาโกส่งมอบเดือนกรกฎาคม 2561 ปรับตัวสูงขึ้นร้อยละ 1.40 รวมทั้งคาดการณ์ว่าผลผลิตปาล์มน้ำมันในเดือนพฤษภาคมจะมีปริมาณลดลง ส่งผลให้ราคาน้ำมันปาล์มดิบมีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้น นอกจากนี้ราคาน้ำมันปาล์มดิบยังได้รับผลกระทบจากราคาน้ำมันดิบที่ใช้ผลิตไบโอดีเซล ทั้งนี้จากการรายงานของคณะกรรมการน้ำมันปาล์มมาเลเซีย (MPOB) ว่าการส่งออกน้ำมันปาล์มดิบของกลุ่มประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในเดือนเมษายน 2561 ปริมาณลดลงอยู่ที่ 1.56 ล้านตัน แต่การส่งออกน้ำมันปาล์มดิบยังคงอยู่ในระดับสูงสุดเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันตั้งแต่ปี 2558
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 2,446.55 ดอลลาร์มาเลเซีย (20.09 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 2,415.40 ดอลลาร์มาเลเซีย (19.79 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.29
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 669.17 ดอลลาร์สหรัฐฯ (21.61 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 656.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (21.09 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.93
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 3 วัน
อ้อยและน้ำตาล
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
รายงานการผลิตน้ำตาลทรายของโรงงานน้ำตาลทั่วประเทศ
ศูนย์บริหารการผลิต สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทรายได้รายงานการเก็บเกี่ยวอ้อยและ การผลิตน้ำตาลทรายตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2560 จนถึงวันที่ 23 พฤษภาคม 2561 ว่ามีอ้อยเก็บเกี่ยวเข้าโรงงานน้ำตาลไปแล้วจำนวน 134.59 ล้านตัน ผลิตเป็นน้ำตาลได้ 14.65 ล้านตัน แยกเป็นน้ำตาลทรายดิบ 10.68 ล้านตัน และน้ำตาลทรายขาว 3.97 ล้านตัน ค่าความหวานของอ้อยเฉลี่ย 12.48 ซี.ซี.เอส. ผลผลิตน้ำตาลทรายเฉลี่ยต่อตันอ้อย 108.86 กก.ต่อตันอ้อย
2. สรุปภาวการณ์ผลิตการตลาดและราคาในต่างประเทศ
ถั่วเหลือง
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 16.80 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 17.99 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 6.61
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งกากถั่วเหลืองใน สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 16.80 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 17.99 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 6.61
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งกากถั่วเหลืองใน สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1, 025.76 เซนต์ (12.17 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 1,004.16 เซนต์ (11.93 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.15
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 378.30 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12.22 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 381.30 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12.25 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.79
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 31.46 เซนต์ (22.40 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 30.99 เซนต์ (21.95 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.52
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1, 025.76 เซนต์ (12.17 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 1,004.16 เซนต์ (11.93 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.15
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 378.30 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12.22 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 381.30 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12.25 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.79
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 31.46 เซนต์ (22.40 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 30.99 เซนต์ (21.95 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.52
ยางพารา
ราคายางแผ่นดิบคุณภาพ 3 ตลาดกลางหาดใหญ่ สัปดาห์นี้ 49.11 บาท/กิโลกรัม
1. สรุปภาวการณ์ผลิต การตลาดและราคาภายในประเทศ
ภาพรวมราคายางพาราที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศและราคาส่งออก F.O.B ปรับตัวสูงขึ้นจากสัปดาห์ที่ผ่านมาในขณะที่ราคาน้ำยางสดคละปรับตัวลดลงเล็กน้อย โดยราคาภาพรวมปรับตัวสูงขึ้นเนื่องจากผลผลิตยางออกสู่ตลาดน้อยเพราะมีฝนตกในพื้นที่ปลูกยางหลายพื้นที่ และพื้นที่กรีดยางบางแห่งยังไม่เปิดกรีดส่งผลให้ราคายางพาราปรับตัวสูงขึ้น ทางด้านการจัดการพื้นที่ปลูกยาง วันที่ 16 พฤษภาคม 2561 พ.อ.หญิงศิริจันทร์ งาทอง รองโฆษกกองทัพบก ได้แถลงข่าวภายหลังการประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อน คณะที่ 5 โดยมี พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน ซึ่งประธานระบุว่าได้เร่งรัดการคืนพื้นที่บุกรุกป่าที่มีการปลูกยางพารา ซึ่งจะช่วยลดปริมาณผลผลิตยางออกสู่ตลาด โดยจะบังคับใช้กฎหมายกับนายทุนที่บุกรุกอย่างเคร่งครัด เป้าหมายพื้นที่ 1.2 ล้านไร่เศษ ให้แล้วเสร็จในปี 2564 และจะเข้าสำรวจการถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ผู้บุกรุกเป็นผู้ยากไร้เพื่อจัดระเบียบให้สามารถใช้ประโยชน์ในพื้นที่ตามแนวทางของกฎหมาย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
1. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 47.01 บาท เพิ่มขึ้นจาก 46.28 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.73 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.58
2. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 2 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 46.51 บาท เพิ่มขึ้นจาก 45.78 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.73 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.59
3. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 46.01 บาท เพิ่มขึ้นจาก 45.28 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.73 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.61
4. ยางก้อนคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 21.28 บาท เพิ่มขึ้นจาก 20.76 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.52 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.50
5. เศษยางคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 18.58 บาท เพิ่มขึ้นจาก 18.25 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.33 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.81
6. น้ำยางสดคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 44.68 บาท ลดลงจาก 44.69 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.01 บาท หรือลดลงร้อยละ 0.02
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ซื้อขายล่วงหน้าส่งมอบเดือนมิถุนายน 2561
ณ ท่าเรือกรุงเทพ
1. ยางแผ่นรมควันชั้น 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.31 บาท เพิ่มขึ้นจาก 57.28 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.03 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.06
2. ยางแผ่นรมควันชั้น 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 56.16 บาท เพิ่มขึ้นจาก 56.13 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.03 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.06
3. ยางแท่ง (STR20) ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 47.01 บาท เพิ่มขึ้นจาก 46.23 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.78 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.70
4. น้ำยางข้น ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.85 บาท เพิ่มขึ้นจาก 39.34 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.51 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.30
ณ ท่าเรือสงขลา
1. ยางแผ่นรมควันชั้น 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.06 บาท เพิ่มขึ้นจาก 57.03 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.03 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.06
2. ยางแผ่นรมควันชั้น 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.91 บาท เพิ่มขึ้นจาก 55.88 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.03 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.06
3. ยางแท่ง (STR20) ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 46.76 บาท เพิ่มขึ้นจาก 45.98 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.78 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.71
4. น้ำยางข้น ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.60 บาท เพิ่มขึ้นจาก 39.09 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.51 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.31
2. สรุปภาวการณ์ผลิตการตลาดและราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาซื้อขายล่วงหน้าตลาดสิงคโปร์ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมาในขณะที่ตลาดโตเกียวปรับตัวสูงขึ้นจากสัปดาห์ที่ผ่านมา ทางด้านการใช้ยางของอินเดีย นาย MK Shanmuga Sundaram ประธานคณะกรรมการยาง ได้คาดการณ์ว่าการนำเข้ายางมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเป็น 450,000 ตัน ในปี 2562 เนื่องจากคาดว่าผลผลิตในเดือน มกราคม - มีนาคม 2561 ลดลงร้อยละ 10 เพราะมีฝนตกและราคายางที่ลดต่ำลง โดยในการประชุมคณะกรรมการยางอินเดีย ครั้งที่ 176 ได้คาดการณ์ว่า ผลผลิตในปี 2562 จะอยู่ที่ 730,000 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.2 ในขณะที่การคาดการณ์ความต้องการใช้อยู่ที่ 1.2 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 8
ราคายางแผ่นรมควันชั้น3
ราคาซื้อขายล่วงหน้าตลาดสิงคโปร์ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 166.26 เซนต์สหรัฐฯ (52.99 บาท) ลดลงจาก 166.86 เซนต์สหรัฐฯ (52.91 บาท) ของสัปดาห์ที่ผ่านมากิโลกรัมละ 0.60 เซนต์สหรัฐฯ หรือลดลงร้อยละ 0.36
ราคาซื้อขายล่วงหน้าตลาดโตเกียว เฉลี่ยกิโลกรัมละ 184.78 เยน (52.80 บาท) เพิ่มขึ้นจาก 181.56 เยน (52.01 บาท) ของสัปดาห์ที่ผ่านมากิโลกรัมละ 3.22 เยน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.77
1. สรุปภาวการณ์ผลิต การตลาดและราคาภายในประเทศ
ภาพรวมราคายางพาราที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศและราคาส่งออก F.O.B ปรับตัวสูงขึ้นจากสัปดาห์ที่ผ่านมาในขณะที่ราคาน้ำยางสดคละปรับตัวลดลงเล็กน้อย โดยราคาภาพรวมปรับตัวสูงขึ้นเนื่องจากผลผลิตยางออกสู่ตลาดน้อยเพราะมีฝนตกในพื้นที่ปลูกยางหลายพื้นที่ และพื้นที่กรีดยางบางแห่งยังไม่เปิดกรีดส่งผลให้ราคายางพาราปรับตัวสูงขึ้น ทางด้านการจัดการพื้นที่ปลูกยาง วันที่ 16 พฤษภาคม 2561 พ.อ.หญิงศิริจันทร์ งาทอง รองโฆษกกองทัพบก ได้แถลงข่าวภายหลังการประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อน คณะที่ 5 โดยมี พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน ซึ่งประธานระบุว่าได้เร่งรัดการคืนพื้นที่บุกรุกป่าที่มีการปลูกยางพารา ซึ่งจะช่วยลดปริมาณผลผลิตยางออกสู่ตลาด โดยจะบังคับใช้กฎหมายกับนายทุนที่บุกรุกอย่างเคร่งครัด เป้าหมายพื้นที่ 1.2 ล้านไร่เศษ ให้แล้วเสร็จในปี 2564 และจะเข้าสำรวจการถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ผู้บุกรุกเป็นผู้ยากไร้เพื่อจัดระเบียบให้สามารถใช้ประโยชน์ในพื้นที่ตามแนวทางของกฎหมาย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
1. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 47.01 บาท เพิ่มขึ้นจาก 46.28 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.73 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.58
2. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 2 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 46.51 บาท เพิ่มขึ้นจาก 45.78 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.73 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.59
3. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 46.01 บาท เพิ่มขึ้นจาก 45.28 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.73 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.61
4. ยางก้อนคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 21.28 บาท เพิ่มขึ้นจาก 20.76 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.52 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.50
5. เศษยางคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 18.58 บาท เพิ่มขึ้นจาก 18.25 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.33 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.81
6. น้ำยางสดคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 44.68 บาท ลดลงจาก 44.69 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.01 บาท หรือลดลงร้อยละ 0.02
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ซื้อขายล่วงหน้าส่งมอบเดือนมิถุนายน 2561
ณ ท่าเรือกรุงเทพ
1. ยางแผ่นรมควันชั้น 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.31 บาท เพิ่มขึ้นจาก 57.28 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.03 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.06
2. ยางแผ่นรมควันชั้น 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 56.16 บาท เพิ่มขึ้นจาก 56.13 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.03 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.06
3. ยางแท่ง (STR20) ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 47.01 บาท เพิ่มขึ้นจาก 46.23 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.78 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.70
4. น้ำยางข้น ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.85 บาท เพิ่มขึ้นจาก 39.34 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.51 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.30
ณ ท่าเรือสงขลา
1. ยางแผ่นรมควันชั้น 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.06 บาท เพิ่มขึ้นจาก 57.03 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.03 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.06
2. ยางแผ่นรมควันชั้น 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.91 บาท เพิ่มขึ้นจาก 55.88 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.03 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.06
3. ยางแท่ง (STR20) ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 46.76 บาท เพิ่มขึ้นจาก 45.98 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.78 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.71
4. น้ำยางข้น ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.60 บาท เพิ่มขึ้นจาก 39.09 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.51 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.31
2. สรุปภาวการณ์ผลิตการตลาดและราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาซื้อขายล่วงหน้าตลาดสิงคโปร์ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมาในขณะที่ตลาดโตเกียวปรับตัวสูงขึ้นจากสัปดาห์ที่ผ่านมา ทางด้านการใช้ยางของอินเดีย นาย MK Shanmuga Sundaram ประธานคณะกรรมการยาง ได้คาดการณ์ว่าการนำเข้ายางมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเป็น 450,000 ตัน ในปี 2562 เนื่องจากคาดว่าผลผลิตในเดือน มกราคม - มีนาคม 2561 ลดลงร้อยละ 10 เพราะมีฝนตกและราคายางที่ลดต่ำลง โดยในการประชุมคณะกรรมการยางอินเดีย ครั้งที่ 176 ได้คาดการณ์ว่า ผลผลิตในปี 2562 จะอยู่ที่ 730,000 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.2 ในขณะที่การคาดการณ์ความต้องการใช้อยู่ที่ 1.2 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 8
ราคายางแผ่นรมควันชั้น3
ราคาซื้อขายล่วงหน้าตลาดสิงคโปร์ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 166.26 เซนต์สหรัฐฯ (52.99 บาท) ลดลงจาก 166.86 เซนต์สหรัฐฯ (52.91 บาท) ของสัปดาห์ที่ผ่านมากิโลกรัมละ 0.60 เซนต์สหรัฐฯ หรือลดลงร้อยละ 0.36
ราคาซื้อขายล่วงหน้าตลาดโตเกียว เฉลี่ยกิโลกรัมละ 184.78 เยน (52.80 บาท) เพิ่มขึ้นจาก 181.56 เยน (52.01 บาท) ของสัปดาห์ที่ผ่านมากิโลกรัมละ 3.22 เยน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.77
สับปะรด
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ และถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 24.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 16.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 12.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 25.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 782.80 ดอลลาร์สหรัฐ (24.95 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 786.00 ดอลลาร์สหรัฐ (24.92 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.41 แต่สูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.03 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 719.80 ดอลลาร์สหรัฐ (22.94 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 722.25 ดอลลาร์สหรัฐ (22.90 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.34 แต่สูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.04 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 530.40 ดอลลาร์สหรัฐ (16.90 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 532.50 ดอลลาร์สหรัฐ (16.88 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.39 แต่สูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 404.00 ดอลลาร์สหรัฐ (12.88 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 405.50 ดอลลาร์สหรัฐ (12.86 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.37 แต่สูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 808.20 ดอลลาร์สหรัฐ (25.76 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 811.25 ดอลลาร์สหรัฐ (25.72 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.38 แต่สูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.04 บาท
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ และถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 24.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 16.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 12.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 25.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 782.80 ดอลลาร์สหรัฐ (24.95 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 786.00 ดอลลาร์สหรัฐ (24.92 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.41 แต่สูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.03 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 719.80 ดอลลาร์สหรัฐ (22.94 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 722.25 ดอลลาร์สหรัฐ (22.90 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.34 แต่สูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.04 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 530.40 ดอลลาร์สหรัฐ (16.90 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 532.50 ดอลลาร์สหรัฐ (16.88 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.39 แต่สูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 404.00 ดอลลาร์สหรัฐ (12.88 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 405.50 ดอลลาร์สหรัฐ (12.86 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.37 แต่สูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 808.20 ดอลลาร์สหรัฐ (25.76 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 811.25 ดอลลาร์สหรัฐ (25.72 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.38 แต่สูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.04 บาท
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ ดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 50.36บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 48.72 บาทของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 3.37
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 35.72 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 35.72 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 60.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 51.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 51.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ฝ้าย
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้
ราคาฝ้ายรวมเมล็ดชนิดคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาซื้อ-ขายล่วงหน้าตลาดนิวยอร์ก (New York Cotton Futures)
ราคาซื้อ-ขายล่วงหน้า เพื่อส่งมอบเดือนกรกฏาคม 2561 สัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 87.35 เซนต์ (กิโลกรัมละ 62.21 บาท) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 84.29 เซนต์ (กิโลกรัมละ 59.71 บาท) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.63 และสูงขึ้นในรูปของเงินบาทกิโลกรัมละ 2.50 บาท
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,653 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 1,664 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.66
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,275 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 1,293 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.39
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,126 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,119 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.63
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ลดลงเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา แม้ว่าสภาพอากาศยังคงแปรปรวนในหลายพื้นที่ แต่จากปริมาณสุกรออกสู่ตลาดค่อนข้างมาก ส่งผลให้ราคาสุกรมีชีวิตหน้าฟาร์มปรับตัวลดลง แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือลดลงเล็กน้อย
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 57.18 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 58.26 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.85 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 56.97 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 50.55 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 58.36 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 62.69 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 1,600 บาท (บวกลบ 58 บาท) ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 59.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไก่เนื้อสัปดาห์นี้ ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากสภาพอากาศยังคงแปรปรวนในหลายพื้นที่ ส่งผลให้ผลผลิตไก่เนื้อออกสู่ตลาดใกล้เคียงกับความต้องการบริโภคไก่เนื้อที่มีไม่มากนัก แนวโน้มคาดว่าสัปดาห์หน้าราคาจะทรงตัว
สถานการณ์ตลาดไก่เนื้อสัปดาห์นี้ ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากสภาพอากาศยังคงแปรปรวนในหลายพื้นที่ ส่งผลให้ผลผลิตไก่เนื้อออกสู่ตลาดใกล้เคียงกับความต้องการบริโภคไก่เนื้อที่มีไม่มากนัก แนวโน้มคาดว่าสัปดาห์หน้าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 35.17 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 34.58 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.71 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 35.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 34.62 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 41.03 บาท และภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 8.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.50 บาท และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 42.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ค่อนข้างทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตไข่ไก่ออกสู่ตลาดใกล้เคียงกับความต้องการบริโภคไข่ไก่ที่มีไม่มากนัก แนวโน้มคาดว่าสัปดาห์หน้าราคาจะทรงตัว
สัปดาห์นี้ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ค่อนข้างทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตไข่ไก่ออกสู่ตลาดใกล้เคียงกับความต้องการบริโภคไข่ไก่ที่มีไม่มากนัก แนวโน้มคาดว่าสัปดาห์หน้าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 279 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 278 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.36 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 284 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 276 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 278 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0-4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 311 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 327 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 329 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.61 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 335 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 344 บาท ภาคกลาง ร้อยฟองละ 299 บาท และภาคใต้ ร้อยฟองละ 349 บาท
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 327 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 329 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.61 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 335 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 344 บาท ภาคกลาง ร้อยฟองละ 299 บาท และภาคใต้ ร้อยฟองละ 349 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 340 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 90.66 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 90.17 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.54 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 91.15 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 86.28 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 91.81 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 99.56 บาท
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 90.66 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 90.17 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.54 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 91.15 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 86.28 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 91.81 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 99.56 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 72.57 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 72.20 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.51 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 91.23 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 68.98 ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงานราคา
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 72.57 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 72.20 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.51 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 91.23 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 68.98 ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงานราคา
ประมง
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 18 –24 พฤษภาคม 2561) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 18 –24 พฤษภาคม 2561) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้ คือ
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย ราคาที่ชาวประมงขายได้ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 41.20 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 39.47 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.73 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 70.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.2 ปลาช่อน ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 86.23 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 86.93 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.70 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 120.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.3 กุ้งกุลาดำ ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคา ณ ตลาดกลางกุ้งสมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาดกลาง (70 ตัว/กก.) เฉลี่ยกิโลกรัมละ120.17 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 122.30 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา -2.13 บาท
สำหรับราคา ณ ตลาดกลางกุ้งสมุทรสาครขนาดกลาง (70 ตัว/กก.) ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 115.00บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.5 ปลาทู ปลาทูสดขนาดกลาง ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 69.87 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 83.04 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 13.17 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 85.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.6 ปลาหมึก ราคาปลาหมึกกระดองสดที่ชาวประมงขายได้ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 181.00 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 150.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 31.00 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 200.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.82 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 8.83 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.01 บาท
สำหรับราคาขายส่งปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% (ระหว่างวันที่ 18 – 24 พ.ค. 2561) ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย ราคาที่ชาวประมงขายได้ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 41.20 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 39.47 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.73 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 70.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.2 ปลาช่อน ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 86.23 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 86.93 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.70 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 120.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.3 กุ้งกุลาดำ ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคา ณ ตลาดกลางกุ้งสมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาดกลาง (70 ตัว/กก.) เฉลี่ยกิโลกรัมละ120.17 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 122.30 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา -2.13 บาท
สำหรับราคา ณ ตลาดกลางกุ้งสมุทรสาครขนาดกลาง (70 ตัว/กก.) ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 115.00บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.5 ปลาทู ปลาทูสดขนาดกลาง ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 69.87 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 83.04 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 13.17 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 85.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.6 ปลาหมึก ราคาปลาหมึกกระดองสดที่ชาวประมงขายได้ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 181.00 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 150.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 31.00 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 200.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.82 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 8.83 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.01 บาท
สำหรับราคาขายส่งปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% (ระหว่างวันที่ 18 – 24 พ.ค. 2561) ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา