- ข้อมูลเศรษฐกิจการเกษตร
- สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์
- รายละเอียดสถานการณ์ผลิดและการตลาด
สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 3-9 พฤษภาคม 2562
ข้าว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การตลาด
มาตรการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าวปีการผลิต 2561/62
มติที่ประชุม คณะกรรมการนโยบายและบริหารจัดการข้าว (นบข.) ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2561 เห็นชอบในหลักการมาตรการฯ ด้านการผลิตและการตลาด ทั้งหมด 10 โครงการดังนี้
(1) ด้านการผลิต* ได้แก่ 1) โครงการส่งเสริมระบบการเกษตรแบบนาแปลงใหญ่ (นาแปลงใหญ่) 2) โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวอินทรีย์ 3) โครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง 4) โครงการส่งเสริมระบบการเกษตรแบบแม่นยำสูง (Precision Farming) 5) โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพชั้นเลิศ 6) โครงการส่งเสริมการผลิตและการตลาดข้าวพันธุ์ กข 43 เพื่อสุขภาพแบบครบวงจร และ 7) โครงการปรับเปลี่ยนระบบการผลิตข้าวในพื้นที่ลุ่มต่ำ 13 ทุ่ง
หมายเหตุ * ด้านการผลิต เป็นโครงการที่หน่วยงานดำเนินการตามปกติ จึงไม่นำเข้าที่ประชุม ครม.พิจารณามาตรการฯ
(2) ด้านการตลาด
- มติที่ประชุม คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2561 อนุมัติการดำเนินโครงการและวงเงินงบประมาณที่ใช้ช่วยเหลือเกษตรกรและรักษาเสถียรภาพราคาข้าว ปีการผลิต 2561/62 ด้านการตลาด จำนวน 3 โครงการ ได้แก่ โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือกนาปีและการช่วยเหลือค่าเก็บเกี่ยวและปรับปรุงคุณภาพข้าว
2) โครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร และ 3) โครงการชดเชยดอกเบี้ยให้ผู้ประกอบการค้าข้าวในการเก็บสต็อก
- มติที่ประชุม คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2561 อนุมัติทบทวนมาตรการรักษาเสถียรภาพราคาข้าว ปีการผลิต 2561/62 โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2561/61 ตามมติคณะกรรมการ นบข. เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2561 ที่กระทรวงพาณิชย์เสนอดังนี้
(1) กรณีเกษตรกรฝากเก็บข้าวไว้ที่สหกรณ์หรือสถาบันเกษตรกร ให้ปรับปรุงให้ค่าเก็บรักษาข้าวเปลือก
ตันละ 500 บาท ปรับเป็น “ให้เกษตรกรได้รับตันละ 1,000 บาท และสหกรณ์ได้รับตันละ 500 บาท”
(2) เกษตรกรและสถาบันเกษตรกร ต้องเก็บรักษาข้าวเปลือกหลักประกันไว้ในยุ้งฉางหรือสถานที่เก็บของตนเองเท่านั้น
(3) ปรับปรุงวิธีการเก็บรักษาข้าวเปลือกของสถาบันเกษตรกร ต้องเก็บรักษาข้าวเปลือกโดยบรรจุข้าวเปลือกในกระสอบป่านหรือถุง Big bag และวางเรียงในยุ้งฉางหรือสถานที่เก็บเพื่อสะดวกในการตรวจสอบ หรือเก็บข้าวในยุ้งฉางที่ยกพื้นสูงหรือไซโล (SILO) ยกเว้นกรณีเทกองจะต้องมีระบบการระบายอากาศ เพื่อการรักษาคุณภาพข้าวเปลือกไม่ให้เสื่อมสภาพตลอดระยะเวลาโครงการ
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 15,695 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,663 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.20
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 7,804 บาท ราคาลดลงจากตันละ 7,855 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.65
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 34,050 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 11,650 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 1,137 ดอลลาร์สหรัฐฯ (35,968 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 1,134 ดอลลาร์สหรัฐฯ (35,944 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.26 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 24 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 409 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,938 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 408 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,919 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.25 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 19 บาท
ข้าวขาว 25% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 401 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,685 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 400 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,679 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.25 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 6 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 412 ดอลลาร์สหรัฐฯ (13,033 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 411 ดอลลาร์สหรัฐฯ (13,027 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.24 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 6 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 31.6341
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
เวียดนาม
ภาวะราคาข้าวขาว 5% ในสัปดาห์ที่ผ่านมาทรงตัวอยู่ที่ตันละ 365 ดอลลาร์สหรัฐ เนื่องจากอยู่ในช่วงวันหยุดราชการของวันรวมชาติและวันแรงงานแห่งชาติ (the Reunification Day and Labour Day) ประกอบกับตลาดปิดทำการค้าขาย โดยวงการค้าคาดว่า ภาวะราคาข้าวหลังจากนี้ไม่น่าจะปรับลดลง เพราะคาดว่าอุปทานข้าวในประเทศมีแนวโน้มลดลงจากการคาดการณ์ว่าจะเกิดภาวะขาดแคลนน้ำสำหรับเพาะปลูกในเขตที่ราบลุ่มแม่น้ำโขง ซึ่งจะส่งผลให้ผลผลิตข้าวในฤดูการผลิตฤดูร้อน (the summer-autumn crop) มีปริมาณลดลง
มีรายงานว่า การเจรจาความตกลงทางการค้าระหว่างสหภาพยุโรปและเวียดนาม (The EU-Vietnam agreement) ในส่วนของสินค้าข้าวนั้น สหภาพยุโรปจะสามารถนำเข้าข้าวจากเวียดนามในอัตราภาษี 0% ได้ประมาณ 75,000-80,000 ตัน ประกอบด้วยข้าวสาร 30,000 ตัน ข้าวเปลือก 20,000 ตัน และข้าวหอม 30,000 ตัน โดยคาดว่าจะได้ข้อสรุปการเจรจาภายในปี 2562 นี้
คณะผู้แทนการค้าจากสมาคมอุตสาหกรรมอาหารของจีน (the China Food Industry Association; CNFIA) เดินทางมาเยือนเวียดนามเพื่อกระชับและส่งเสริมความสัมพันธ์ทางการค้าระหว่างสองประเทศ ระหว่างวันที่ 6-10 พฤษภาคมนี้ โดยคาดว่าจะมีการลงพื้นที่แปลงนาในจังหวัด An Giang, Long An, และ Dong Thap เพื่อสำรวจสถานการณ์การผลิตข้าวของเวียดนามด้วย ซึ่งคณะผู้แทนประกอบด้วยผู้แทนจากหลายมณฑลของจีนที่มีความต้องการ
นำเข้าข้าวสูง เช่น Anhui, Guangdong, Yunnan และ Fujian ถือเป็นโอกาสอันดีของเวียดนามในการแนะนำเกี่ยวกับการผลิตข้าวและเครื่องหมายการค้าของเวียดนามในอุตสาหกรรมข้าวด้วย
ที่มา : สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
กัมพูชา
ธนาคารโลกรายงานว่า การส่งออกข้าวของกัมพูชาไปยังประเทศจีนขยายตัวเพิ่มขึ้นมาก หลังจากสหภาพยุโรป
กำหนดอัตราภาษีการนำเข้าข้าวจากประเทศกัมพูชาและเมียนมาร์เมื่อเดือนมกราคมที่ผ่านมา โดยกำหนดอัตราภาษีศุลกากรเป็นเวลา 3 ปี เพื่อควบคุมปริมาณการนำเข้าที่เพิ่มขึ้นจากทั้งสองประเทศ และเพื่อปกป้องผู้ผลิตสหภาพยุโรปเช่น อิตาลี
ทั้งนี้ หลังจากมีการกำหนดอัตราภาษีแล้ว ข้าวของกัมพูชาที่ส่งออกไปยังสหภาพยุโรปในเดือนกุมภาพันธ์
มีปริมาณ 10,080 ตัน ลดลงถึงร้อยละ 57.8 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า โดยเมื่อปี 2561 กัมพูชาส่งออกข้าวไปยังตลาดยุโรปประมาณ 270,000 ตัน หรือร้อยละ 43 ของปริมาณข้าวที่ส่งออกทั้งหมดในปี 2561
แม้ในภาพรวมปริมาณการส่งออกข้าวจากกัมพูชาไปยังสหภาพยุโรปจะลดลง แต่ถูกชดเชยจากการเพิ่มขึ้นของการส่งออกข้าวของประเทศไปตลาดจีน ซึ่งข้าวของกัมพูชาที่ส่งออกไปจีนเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 45.6 ส่งผลให้การส่งออกข้าวโดยรวมของประเทศเพิ่มขึ้นร้อยละ 2 ในช่วง 2 เดือนแรกของปีนี้
ปัจจุบันกัมพูชายังคงได้สิทธิพิเศษทางการค้าจากสหภาพยุโรปในโครงการ Everything But Arms (EBA)
ที่ทำให้การส่งออกสินค้าของกัมพูชาปลอดภาษีทั้งหมดยกเว้นอาวุธ และมากกว่า 1 ใน 3 ของการส่งออกของกัมพูชา ทั้งหมดมีปลายทางคือสหภาพยุโรป โดยสินค้าที่ส่งออกส่วนใหญ่ประกอบด้วยสิ่งทอ รองเท้า และจักรยาน
ในเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา สหภาพยุโรปได้เริ่มกระบวนการที่ใช้ระยะเวลานาน 18 เดือน ซึ่งอาจนำไปสู่
การระงับสถานะ EBA ของกัมพูชา เนื่องจากประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนและประชาธิปไตยในประเทศ ซึ่งหาก EBA ถูกระงับ การส่งออกไปยังสหภาพยุโรปของกัมพูชาจะลดลงอย่างมาก
ทางด้านกระทรวงเกษตรสหรัฐฯ (USDA) คาดการณ์ว่าในปีการตลาด 2562/63 (มกราคม-ธันวาคม 2562) ประเทศกัมพูชาจะมีการส่งออกข้าวประมาณ 1.4 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1.3 ล้านตัน ในปี 2561/62 ซึ่งตัวเลขส่งออกดังกล่าวรวมการส่งออกข้าวผ่านทางแนวชายแดนไปยังประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ ไทยและเวียดนามด้วย ทั้งนี้ ในส่วนของการส่งออกอย่างเป็นทางการผ่านทางท่าเรือในปี 2561/62 ที่ผ่านมา มีจำนวน 626,225 ตัน ลดลงจากปีก่อนหน้า เนื่องจากในปีที่แล้วการส่งออกข้าวไปยังประเทศจีนซึ่งเป็นตลาดหลักมีจำนวนลดลงจากปีก่อน ขณะที่กัมพูชายังไม่สามารถหาตลาดส่งออกใหม่ได้ โดยการส่งออกข้าวส่วนใหญ่จะเป็นข้าวในกลุ่มข้าวหอม คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 79 ของการส่งออกทั้งหมด ตามด้วยข้าวขาวและข้าวนึ่ง ในสัดส่วนไม่มากนัก
ที่มา : สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
เซเนกัล
กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ (USDA) คาดการณ์ว่าในปีการตลาด 2562/63 (ตุลาคม 2562-กันยายน 2563) กลุ่มประเทศในแอฟริกาใต้ตะวันตก ประกอบด้วย Senegal, Burkina Faso, Mali, และ Guinea จะมีผลผลิตข้าวประมาณ 4.42 ล้านตัน จากพื้นที่เพาะปลูกข้าวประมาณ 19.75 ล้านไร่ จากสภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเพาะปลูก ภาวะราคาที่ดีและมีการสนับสนุนปัจจัยการผลิตจากรัฐบาลเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเพาะปลูกข้าว ทางด้านการนำเข้านั้น คาดว่าในปี 2562/63 กลุ่มประเทศเหล่านี้จะมีการนำเข้าประมาณ 3.5 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้าร้อยละ 10.5
เนื่องจากจำนวนประชากรเพิ่มขึ้น และมีการแข่งขันด้านราคาข้าวในตลาดต่างประเทศ ซึ่งส่งผลดีต่อการนำเข้าข้าว
สำหรับประเทศเซเนกัล นั้น กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ (USDA) คาดการณ์ว่าในปีการตลาด 2562/63 (ตุลาคม 2562-กันยายน 2563) จะมีผลผลิตข้าวประมาณ 550,000 ตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2561/62 ที่มีจำนวน 540,000 ตัน จากสภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเพาะปลูกมากขึ้น ประกอบกับภาวะราคาข้าวในประเทศอยู่ในเกณฑ์ดีและรัฐบาล
มีการสนับสนุนให้มีการเพาะปลูกข้าว ส่งผลให้แนวโน้มผลผลิตข้าวจะเพิ่มขึ้น ในขณะที่การบริโภคข้าวในปี 2562/63 คาดว่าจะมีประมาณ 2 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากจำนวน 1.9 ล้านตัน ในปี 2561/62 เนื่องจากจำนวนประชากรเพิ่มขึ้น
ด้านการนพเข้าข้าว นั้น ในปี 2562/63 คาดว่าจะมีประมาณ 1.65 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากจำนวน 1.575 ล้านตัน ในปี 2561/62 จากการที่คาดว่าความต้องการบริโภคข้าวจะเพิ่มมากขึ้น ประกอบกับราคาข้าวในต่างประเทศอยู่ในระดับที่เหมาะสมกับการนำเข้า ซึ่งตามปกติเซเนกัลจะนำเข้าข้าวจากประเทศอินเดีย ไทย บราซิล ปากีสถาน และจีน นอกจากนี้ยังมีการนำเข้าจากประเทศเพื่อนบ้านด้วย เช่น Mali, The Gambia, และ Mauritania
ทั้งนี้ การนำเข้าข้าวจากประเทศไทยเริ่มลดลงนับตั้งแต่ปี 2560 หลังจากรัฐบาลห้ามการนำเข้าข้าวเต็มเมล็ด (whole grain rice) ซึ่งคำสั่งห้ามดังกล่าวมีผลทั้งกับข้าวหอมและข้าวขาวที่ไม่ใช่ข้าวหอม (aromatic and non-aromatic rice) เพื่อปกป้องเกษตรกรในประเทศ และมาตรการนี้ยังคงมีผลบังคับใช้มาจนถึงปัจจุบัน
ในช่วงปี 2557-2560 รัฐบาลได้ดำเนินโครงการพึ่งพาผลผลิตข้าวในประเทศ (The 2014-2017 National Program for Self-Sufficiency in Rice; PNAR) โดยมีเป้าหมายที่จะเพิ่มผลผลิตข้าวในประเทศและลดการนำเข้าข้าว อย่างไรก็ตามนโยบายดังกล่าวยังไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร และตามรายงานของแผนการใหม่ของรัฐบาลยังคงตั้งเป้าหมายในอีก 5 ปีข้างหน้าที่จะเพิ่มผลผลิตข้าวให้ได้ตามเป้า เพื่อลดการนำเข้าจากต่างประเทศ
ที่มา : สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
กราฟราคาที่เกษตรกรขายได้ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% และราคาขายส่งตลาด กทม. ข้าวสารเจ้า 5%
1.1 การตลาด
มาตรการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าวปีการผลิต 2561/62
มติที่ประชุม คณะกรรมการนโยบายและบริหารจัดการข้าว (นบข.) ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2561 เห็นชอบในหลักการมาตรการฯ ด้านการผลิตและการตลาด ทั้งหมด 10 โครงการดังนี้
(1) ด้านการผลิต* ได้แก่ 1) โครงการส่งเสริมระบบการเกษตรแบบนาแปลงใหญ่ (นาแปลงใหญ่) 2) โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวอินทรีย์ 3) โครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง 4) โครงการส่งเสริมระบบการเกษตรแบบแม่นยำสูง (Precision Farming) 5) โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพชั้นเลิศ 6) โครงการส่งเสริมการผลิตและการตลาดข้าวพันธุ์ กข 43 เพื่อสุขภาพแบบครบวงจร และ 7) โครงการปรับเปลี่ยนระบบการผลิตข้าวในพื้นที่ลุ่มต่ำ 13 ทุ่ง
หมายเหตุ * ด้านการผลิต เป็นโครงการที่หน่วยงานดำเนินการตามปกติ จึงไม่นำเข้าที่ประชุม ครม.พิจารณามาตรการฯ
(2) ด้านการตลาด
- มติที่ประชุม คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2561 อนุมัติการดำเนินโครงการและวงเงินงบประมาณที่ใช้ช่วยเหลือเกษตรกรและรักษาเสถียรภาพราคาข้าว ปีการผลิต 2561/62 ด้านการตลาด จำนวน 3 โครงการ ได้แก่ โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือกนาปีและการช่วยเหลือค่าเก็บเกี่ยวและปรับปรุงคุณภาพข้าว
2) โครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร และ 3) โครงการชดเชยดอกเบี้ยให้ผู้ประกอบการค้าข้าวในการเก็บสต็อก
- มติที่ประชุม คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2561 อนุมัติทบทวนมาตรการรักษาเสถียรภาพราคาข้าว ปีการผลิต 2561/62 โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2561/61 ตามมติคณะกรรมการ นบข. เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2561 ที่กระทรวงพาณิชย์เสนอดังนี้
(1) กรณีเกษตรกรฝากเก็บข้าวไว้ที่สหกรณ์หรือสถาบันเกษตรกร ให้ปรับปรุงให้ค่าเก็บรักษาข้าวเปลือก
ตันละ 500 บาท ปรับเป็น “ให้เกษตรกรได้รับตันละ 1,000 บาท และสหกรณ์ได้รับตันละ 500 บาท”
(2) เกษตรกรและสถาบันเกษตรกร ต้องเก็บรักษาข้าวเปลือกหลักประกันไว้ในยุ้งฉางหรือสถานที่เก็บของตนเองเท่านั้น
(3) ปรับปรุงวิธีการเก็บรักษาข้าวเปลือกของสถาบันเกษตรกร ต้องเก็บรักษาข้าวเปลือกโดยบรรจุข้าวเปลือกในกระสอบป่านหรือถุง Big bag และวางเรียงในยุ้งฉางหรือสถานที่เก็บเพื่อสะดวกในการตรวจสอบ หรือเก็บข้าวในยุ้งฉางที่ยกพื้นสูงหรือไซโล (SILO) ยกเว้นกรณีเทกองจะต้องมีระบบการระบายอากาศ เพื่อการรักษาคุณภาพข้าวเปลือกไม่ให้เสื่อมสภาพตลอดระยะเวลาโครงการ
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 15,695 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,663 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.20
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 7,804 บาท ราคาลดลงจากตันละ 7,855 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.65
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 34,050 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 11,650 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 1,137 ดอลลาร์สหรัฐฯ (35,968 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 1,134 ดอลลาร์สหรัฐฯ (35,944 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.26 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 24 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 409 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,938 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 408 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,919 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.25 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 19 บาท
ข้าวขาว 25% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 401 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,685 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 400 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,679 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.25 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 6 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 412 ดอลลาร์สหรัฐฯ (13,033 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 411 ดอลลาร์สหรัฐฯ (13,027 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.24 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 6 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 31.6341
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
เวียดนาม
ภาวะราคาข้าวขาว 5% ในสัปดาห์ที่ผ่านมาทรงตัวอยู่ที่ตันละ 365 ดอลลาร์สหรัฐ เนื่องจากอยู่ในช่วงวันหยุดราชการของวันรวมชาติและวันแรงงานแห่งชาติ (the Reunification Day and Labour Day) ประกอบกับตลาดปิดทำการค้าขาย โดยวงการค้าคาดว่า ภาวะราคาข้าวหลังจากนี้ไม่น่าจะปรับลดลง เพราะคาดว่าอุปทานข้าวในประเทศมีแนวโน้มลดลงจากการคาดการณ์ว่าจะเกิดภาวะขาดแคลนน้ำสำหรับเพาะปลูกในเขตที่ราบลุ่มแม่น้ำโขง ซึ่งจะส่งผลให้ผลผลิตข้าวในฤดูการผลิตฤดูร้อน (the summer-autumn crop) มีปริมาณลดลง
มีรายงานว่า การเจรจาความตกลงทางการค้าระหว่างสหภาพยุโรปและเวียดนาม (The EU-Vietnam agreement) ในส่วนของสินค้าข้าวนั้น สหภาพยุโรปจะสามารถนำเข้าข้าวจากเวียดนามในอัตราภาษี 0% ได้ประมาณ 75,000-80,000 ตัน ประกอบด้วยข้าวสาร 30,000 ตัน ข้าวเปลือก 20,000 ตัน และข้าวหอม 30,000 ตัน โดยคาดว่าจะได้ข้อสรุปการเจรจาภายในปี 2562 นี้
คณะผู้แทนการค้าจากสมาคมอุตสาหกรรมอาหารของจีน (the China Food Industry Association; CNFIA) เดินทางมาเยือนเวียดนามเพื่อกระชับและส่งเสริมความสัมพันธ์ทางการค้าระหว่างสองประเทศ ระหว่างวันที่ 6-10 พฤษภาคมนี้ โดยคาดว่าจะมีการลงพื้นที่แปลงนาในจังหวัด An Giang, Long An, และ Dong Thap เพื่อสำรวจสถานการณ์การผลิตข้าวของเวียดนามด้วย ซึ่งคณะผู้แทนประกอบด้วยผู้แทนจากหลายมณฑลของจีนที่มีความต้องการ
นำเข้าข้าวสูง เช่น Anhui, Guangdong, Yunnan และ Fujian ถือเป็นโอกาสอันดีของเวียดนามในการแนะนำเกี่ยวกับการผลิตข้าวและเครื่องหมายการค้าของเวียดนามในอุตสาหกรรมข้าวด้วย
ที่มา : สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
กัมพูชา
ธนาคารโลกรายงานว่า การส่งออกข้าวของกัมพูชาไปยังประเทศจีนขยายตัวเพิ่มขึ้นมาก หลังจากสหภาพยุโรป
กำหนดอัตราภาษีการนำเข้าข้าวจากประเทศกัมพูชาและเมียนมาร์เมื่อเดือนมกราคมที่ผ่านมา โดยกำหนดอัตราภาษีศุลกากรเป็นเวลา 3 ปี เพื่อควบคุมปริมาณการนำเข้าที่เพิ่มขึ้นจากทั้งสองประเทศ และเพื่อปกป้องผู้ผลิตสหภาพยุโรปเช่น อิตาลี
ทั้งนี้ หลังจากมีการกำหนดอัตราภาษีแล้ว ข้าวของกัมพูชาที่ส่งออกไปยังสหภาพยุโรปในเดือนกุมภาพันธ์
มีปริมาณ 10,080 ตัน ลดลงถึงร้อยละ 57.8 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า โดยเมื่อปี 2561 กัมพูชาส่งออกข้าวไปยังตลาดยุโรปประมาณ 270,000 ตัน หรือร้อยละ 43 ของปริมาณข้าวที่ส่งออกทั้งหมดในปี 2561
แม้ในภาพรวมปริมาณการส่งออกข้าวจากกัมพูชาไปยังสหภาพยุโรปจะลดลง แต่ถูกชดเชยจากการเพิ่มขึ้นของการส่งออกข้าวของประเทศไปตลาดจีน ซึ่งข้าวของกัมพูชาที่ส่งออกไปจีนเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 45.6 ส่งผลให้การส่งออกข้าวโดยรวมของประเทศเพิ่มขึ้นร้อยละ 2 ในช่วง 2 เดือนแรกของปีนี้
ปัจจุบันกัมพูชายังคงได้สิทธิพิเศษทางการค้าจากสหภาพยุโรปในโครงการ Everything But Arms (EBA)
ที่ทำให้การส่งออกสินค้าของกัมพูชาปลอดภาษีทั้งหมดยกเว้นอาวุธ และมากกว่า 1 ใน 3 ของการส่งออกของกัมพูชา ทั้งหมดมีปลายทางคือสหภาพยุโรป โดยสินค้าที่ส่งออกส่วนใหญ่ประกอบด้วยสิ่งทอ รองเท้า และจักรยาน
ในเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา สหภาพยุโรปได้เริ่มกระบวนการที่ใช้ระยะเวลานาน 18 เดือน ซึ่งอาจนำไปสู่
การระงับสถานะ EBA ของกัมพูชา เนื่องจากประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนและประชาธิปไตยในประเทศ ซึ่งหาก EBA ถูกระงับ การส่งออกไปยังสหภาพยุโรปของกัมพูชาจะลดลงอย่างมาก
ทางด้านกระทรวงเกษตรสหรัฐฯ (USDA) คาดการณ์ว่าในปีการตลาด 2562/63 (มกราคม-ธันวาคม 2562) ประเทศกัมพูชาจะมีการส่งออกข้าวประมาณ 1.4 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1.3 ล้านตัน ในปี 2561/62 ซึ่งตัวเลขส่งออกดังกล่าวรวมการส่งออกข้าวผ่านทางแนวชายแดนไปยังประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ ไทยและเวียดนามด้วย ทั้งนี้ ในส่วนของการส่งออกอย่างเป็นทางการผ่านทางท่าเรือในปี 2561/62 ที่ผ่านมา มีจำนวน 626,225 ตัน ลดลงจากปีก่อนหน้า เนื่องจากในปีที่แล้วการส่งออกข้าวไปยังประเทศจีนซึ่งเป็นตลาดหลักมีจำนวนลดลงจากปีก่อน ขณะที่กัมพูชายังไม่สามารถหาตลาดส่งออกใหม่ได้ โดยการส่งออกข้าวส่วนใหญ่จะเป็นข้าวในกลุ่มข้าวหอม คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 79 ของการส่งออกทั้งหมด ตามด้วยข้าวขาวและข้าวนึ่ง ในสัดส่วนไม่มากนัก
ที่มา : สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
เซเนกัล
กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ (USDA) คาดการณ์ว่าในปีการตลาด 2562/63 (ตุลาคม 2562-กันยายน 2563) กลุ่มประเทศในแอฟริกาใต้ตะวันตก ประกอบด้วย Senegal, Burkina Faso, Mali, และ Guinea จะมีผลผลิตข้าวประมาณ 4.42 ล้านตัน จากพื้นที่เพาะปลูกข้าวประมาณ 19.75 ล้านไร่ จากสภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเพาะปลูก ภาวะราคาที่ดีและมีการสนับสนุนปัจจัยการผลิตจากรัฐบาลเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเพาะปลูกข้าว ทางด้านการนำเข้านั้น คาดว่าในปี 2562/63 กลุ่มประเทศเหล่านี้จะมีการนำเข้าประมาณ 3.5 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้าร้อยละ 10.5
เนื่องจากจำนวนประชากรเพิ่มขึ้น และมีการแข่งขันด้านราคาข้าวในตลาดต่างประเทศ ซึ่งส่งผลดีต่อการนำเข้าข้าว
สำหรับประเทศเซเนกัล นั้น กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ (USDA) คาดการณ์ว่าในปีการตลาด 2562/63 (ตุลาคม 2562-กันยายน 2563) จะมีผลผลิตข้าวประมาณ 550,000 ตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2561/62 ที่มีจำนวน 540,000 ตัน จากสภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเพาะปลูกมากขึ้น ประกอบกับภาวะราคาข้าวในประเทศอยู่ในเกณฑ์ดีและรัฐบาล
มีการสนับสนุนให้มีการเพาะปลูกข้าว ส่งผลให้แนวโน้มผลผลิตข้าวจะเพิ่มขึ้น ในขณะที่การบริโภคข้าวในปี 2562/63 คาดว่าจะมีประมาณ 2 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากจำนวน 1.9 ล้านตัน ในปี 2561/62 เนื่องจากจำนวนประชากรเพิ่มขึ้น
ด้านการนพเข้าข้าว นั้น ในปี 2562/63 คาดว่าจะมีประมาณ 1.65 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากจำนวน 1.575 ล้านตัน ในปี 2561/62 จากการที่คาดว่าความต้องการบริโภคข้าวจะเพิ่มมากขึ้น ประกอบกับราคาข้าวในต่างประเทศอยู่ในระดับที่เหมาะสมกับการนำเข้า ซึ่งตามปกติเซเนกัลจะนำเข้าข้าวจากประเทศอินเดีย ไทย บราซิล ปากีสถาน และจีน นอกจากนี้ยังมีการนำเข้าจากประเทศเพื่อนบ้านด้วย เช่น Mali, The Gambia, และ Mauritania
ทั้งนี้ การนำเข้าข้าวจากประเทศไทยเริ่มลดลงนับตั้งแต่ปี 2560 หลังจากรัฐบาลห้ามการนำเข้าข้าวเต็มเมล็ด (whole grain rice) ซึ่งคำสั่งห้ามดังกล่าวมีผลทั้งกับข้าวหอมและข้าวขาวที่ไม่ใช่ข้าวหอม (aromatic and non-aromatic rice) เพื่อปกป้องเกษตรกรในประเทศ และมาตรการนี้ยังคงมีผลบังคับใช้มาจนถึงปัจจุบัน
ในช่วงปี 2557-2560 รัฐบาลได้ดำเนินโครงการพึ่งพาผลผลิตข้าวในประเทศ (The 2014-2017 National Program for Self-Sufficiency in Rice; PNAR) โดยมีเป้าหมายที่จะเพิ่มผลผลิตข้าวในประเทศและลดการนำเข้าข้าว อย่างไรก็ตามนโยบายดังกล่าวยังไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร และตามรายงานของแผนการใหม่ของรัฐบาลยังคงตั้งเป้าหมายในอีก 5 ปีข้างหน้าที่จะเพิ่มผลผลิตข้าวให้ได้ตามเป้า เพื่อลดการนำเข้าจากต่างประเทศ
ที่มา : สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
กราฟราคาที่เกษตรกรขายได้ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% และราคาขายส่งตลาด กทม. ข้าวสารเจ้า 5%
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดภายในประเทศในช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5 % สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 7.53 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 7.86 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.20 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5 % สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.07 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 6.12 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.82
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อสัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.58 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 8.86 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.16 และราคาขายส่งไซโลรับซื้อสัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 7.89 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 8.15 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.19
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 280.00 ดอลลาร์สหรัฐ (8,858 บาท/ตัน) ลดลงจากตันละ 290.25 ดอลลาร์สหรัฐ (9,199 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.53 และลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 341 บาท
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนกรกฎาคม 2562 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 363.72 เซนต์ (4,539 บาท/ตัน) เพิ่มขึ้นจากบุชเชลละ 358.96 เซนต์ (4,592 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.33 และเพิ่มขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 53 บาท
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลัง ปี 2562 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2561 – กันยายน 2562) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.72 ล้านไร่ ผลผลิต 31.55 ล้านตัน ผลผลลิตต่อไร่ 3.62 ตัน เมื่อเทียบกับปี 2561
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.33 ล้านไร่ ผลผลิต 29.37 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3.53 ตัน พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ สูงขึ้นร้อยละ 4.68 ร้อยละ 7.42 และร้อยละ 2.55 ตามลำดับ โดยเดือนพฤษภาคม 2562
คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 0.94 ล้านตัน (ร้อยละ 2.97 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2562 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2562 ปริมาณ 21.14 ล้านตัน (ร้อยละ 67 ของผลผลิตทั้งหมด)
การตลาด
ผลผลิตมันสำปะหลังออกสู่ตลาดน้อยลง แต่ราคามันสำปะหลังยังอยู่ในเกณฑ์ดี ถึงแม้เชื้อแป้งในหัวมันสำปะหลังจะลดลง ทั้งนี้โรงงานแป้งมันสำปะหลังบางแห่งหยุดดำเนินการผลิตเพื่อปรับปรุงเครื่องจักร
สำหรับลานมันเส้นเปิดดำเนินการไม่มาก
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.94 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 2.09 บาท
ในสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 7.18
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.13 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.17 บาท
ในสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 0.77
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.22 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 6.28 บาท ในสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 0.96
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต กรุงเทพและปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.55 ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 13.71 บาท ในสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 1.17
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 215 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,807 บาทต่อตัน) ราคาราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน (6,815 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 453 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,343 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน (14,359 บาทต่อตัน)
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลัง ปี 2562 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2561 – กันยายน 2562) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.72 ล้านไร่ ผลผลิต 31.55 ล้านตัน ผลผลลิตต่อไร่ 3.62 ตัน เมื่อเทียบกับปี 2561
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.33 ล้านไร่ ผลผลิต 29.37 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3.53 ตัน พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ สูงขึ้นร้อยละ 4.68 ร้อยละ 7.42 และร้อยละ 2.55 ตามลำดับ โดยเดือนพฤษภาคม 2562
คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 0.94 ล้านตัน (ร้อยละ 2.97 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2562 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2562 ปริมาณ 21.14 ล้านตัน (ร้อยละ 67 ของผลผลิตทั้งหมด)
การตลาด
ผลผลิตมันสำปะหลังออกสู่ตลาดน้อยลง แต่ราคามันสำปะหลังยังอยู่ในเกณฑ์ดี ถึงแม้เชื้อแป้งในหัวมันสำปะหลังจะลดลง ทั้งนี้โรงงานแป้งมันสำปะหลังบางแห่งหยุดดำเนินการผลิตเพื่อปรับปรุงเครื่องจักร
สำหรับลานมันเส้นเปิดดำเนินการไม่มาก
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.94 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 2.09 บาท
ในสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 7.18
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.13 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.17 บาท
ในสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 0.77
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.22 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 6.28 บาท ในสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 0.96
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต กรุงเทพและปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.55 ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 13.71 บาท ในสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 1.17
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 215 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,807 บาทต่อตัน) ราคาราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน (6,815 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 453 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,343 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน (14,359 บาทต่อตัน)
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2562 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนพฤษภาคมจะมีประมาณ 1.542 ล้านตัน
คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.278 ล้านตัน ลดลงจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.716 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.309 ล้านตัน ของเดือนเมษายน คิดเป็นร้อยละ 10.14 และร้อยละ 10.03 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 1.76 บาท ลดลงจาก กก.ละ 1.82 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 3.30
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 15.88 บาท ลดลงจาก กก.ละ 15.90 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.13
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบของมาเลเซียปรับตัวลดลงต่ำสุดในรอบ 5 เดือน
ราคาน้ำมันปาล์มดิบซื้อขายล่วงหน้าตลาดมาเลเซียส่งมอบในเดือนกรกฎาคม 2562 ปรับตัวลดลงอยู่ที่ 1,984 ริงกิตต่อตัน (478.53 ดอลลาร์สหรัฐฯ) ลดลงร้อยละ 1.3 ซึ่งราคาน้ำมันปาล์มดิบปรับตัวลดลงต่ำสุดในรอบ 5 เดือน เนื่องจากสหรัฐฯ จะปรับขึ้นอัตราภาษีสำหรับสินค้าของจีน ประกอบกับภาวะเศรษฐกิจของโลกชะลอตัวลงส่งผลกระทบต่อราคาน้ำมันปาล์มดิบปรับตัวลดลง และน้ำมันพืชถั่วเหลืองที่แข่งขันเพื่อแย่งส่วนแบ่งตลาดโลก ทั้งนี้ คาดว่าน้ำมันปาล์มดิบจะทรงตัวอยู่ในช่วง 1,940-1,967 ริงกิตต่อตัน
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,924.54 ดอลลาร์มาเลเซีย (15.01 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 1,988.42 ดอลลาร์มาเลเซีย (15.59 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.21
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 510.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16.35 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 527.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16.94 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.32
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน
อ้อยและน้ำตาล
ถั่วเหลือง
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ(ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 815.76 เซนต์ (9.61 บาท/กก.) ลดลงจาก
บุชเชลละ 842.40 เซนต์ (9.94 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.16
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 289.56 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.29 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 296.30 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.52 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.27
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 26.75 เซนต์ (18.91 บาท/กก.) ลดลงจากปอนด์ละ 27.52 เซนต์ (19.48 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.80
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ(ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 815.76 เซนต์ (9.61 บาท/กก.) ลดลงจาก
บุชเชลละ 842.40 เซนต์ (9.94 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.16
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 289.56 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.29 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 296.30 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.52 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.27
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 26.75 เซนต์ (18.91 บาท/กก.) ลดลงจากปอนด์ละ 27.52 เซนต์ (19.48 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.80
ยางพารา
ราคายางแผ่นดิบคุณภาพ 3 ตลาดกลางหาดใหญ่ สัปดาห์นี้ 51.03 บาท/กิโลกรัม
1. ราคายางพาราภายในประเทศ
1.1 ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
1) ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.78 บาท เพิ่มขึ้นจาก 48.72 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.06 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.12
2) ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 2 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.28 บาท เพิ่มขึ้นจาก 48.22 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.06 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.12
3) ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 47.78 บาท เพิ่มขึ้นจาก 47.72 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.06 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.13
4) ยางก้อนคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.15 บาท เพิ่มขึ้นจาก 22.84 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.31 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.36
5) เศษยางคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 19.39 บาท เพิ่มขึ้นจาก 19.25 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.14 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.73
6) น้ำยางสดคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 45.55 บาท เพิ่มขึ้นจาก 45.16 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.39 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.86
1.2 ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ซื้อขายล่วงหน้าส่งมอบเดือนมิถุนายน
ณ ท่าเรือกรุงเทพ
1) ยางแผ่นรมควันชั้น 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.48 บาท เพิ่มขึ้นจาก 57.36 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.12 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.21
2) ยางแผ่นรมควันชั้น 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 56.33 บาท เพิ่มขึ้นจาก 56.21 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.12 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.21
3) ยางแท่ง (STR20) ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 50.47 บาท เพิ่มขึ้นจาก 49.85 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.62 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.24
4) น้ำยางข้น ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 40.37 บาท ลดลงจาก 40.38 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.01 บาท หรือลดลงร้อยละ 0.02
ณ ท่าเรือสงขลา
1) ยางแผ่นรมควันชั้น 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.23 บาท เพิ่มขึ้นจาก 57.11 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.12 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.21
2) ยางแผ่นรมควันชั้น 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 56.08 บาท เพิ่มขึ้นจาก 55.96 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.12 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.22
3) ยางแท่ง (STR20) ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 50.22 บาท เพิ่มขึ้นจาก 49.60 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.62 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.24
4) น้ำยางข้น ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 40.12 บาท ลดลงจาก 40.13 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา กิโลกรัมละ 0.01 บาท หรือลดลงร้อยละ 0.02
2. ราคายางแผ่นรมควันชั้น 3 ในตลาดล่วงหน้าต่างประเทศ
2.1 ราคาซื้อขายล่วงหน้าตลาดสิงคโปร์ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 175.08 เซนต์สหรัฐฯ (44.25 บาท) เพิ่มขึ้นจาก 174.60 เซนต์สหรัฐฯ (55.34 บาท) ของสัปดาห์ที่ผ่านมากิโลกรัมละ 0.48 เซนต์สหรัฐฯ หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27
2.2 ราคาซื้อขายล่วงหน้าตลาดโตเกียว เฉลี่ยกิโลกรัมละ 189.90 เยน (53.96 บาท) เพิ่มขึ้นจาก 187.10 เยน (52.74 บาท) ของสัปดาห์ที่ผ่านมากิโลกรัมละ 2.80 เยน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.50
สับปะรด
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละสัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 17.92 บาท ลดลงจากราคากิโลกรัมละ 23.03 บาท
ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 22.19
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ และถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 26.00 บาท สูงขึ้นจากราคากิโลกรัมละ 25.25 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.97
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.00 บาท สูงขึ้นจากราคากิโลกรัมละ 25.50 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.88
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 17.00 บาท สูงขึ้นจากราคากิโลกรัมละ 16.25 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.62
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท สูงขึ้นจากราคากิโลกรัมละ 27.25 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.75
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 914.00 ดอลลาร์สหรัฐ (28.91 บาท/กิโลกรัม) สูงขึ้นจากตันละ 913.75 ดอลลาร์สหรัฐ (28.96 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.03 แต่ลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.05 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 850.33 ดอลลาร์สหรัฐ (26.90 บาท/กิโลกรัม) สูงขึ้นจากตันละ 826.75 ดอลลาร์สหรัฐ (26.21 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.85 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.69 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 882.33 ดอลลาร์สหรัฐ (27.91 บาท/กิโลกรัม) สูงขึ้นจากตันละ 834.75 ดอลลาร์สหรัฐ (26.46 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.70 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 1.45 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 564.67 ดอลลาร์สหรัฐ (17.86 บาท/กิโลกรัม) สูงขึ้นจากตันละ 541.00 ดอลลาร์สหรัฐ (17.15 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.38 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.71 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 907.33 ดอลลาร์สหรัฐ (28.70 บาท/กิโลกรัม) สูงขึ้นจากตันละ 883.75 ดอลลาร์สหรัฐ (28.01 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.67 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.69 บาท
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละสัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 17.92 บาท ลดลงจากราคากิโลกรัมละ 23.03 บาท
ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 22.19
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ และถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 26.00 บาท สูงขึ้นจากราคากิโลกรัมละ 25.25 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.97
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.00 บาท สูงขึ้นจากราคากิโลกรัมละ 25.50 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.88
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 17.00 บาท สูงขึ้นจากราคากิโลกรัมละ 16.25 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.62
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท สูงขึ้นจากราคากิโลกรัมละ 27.25 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.75
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 914.00 ดอลลาร์สหรัฐ (28.91 บาท/กิโลกรัม) สูงขึ้นจากตันละ 913.75 ดอลลาร์สหรัฐ (28.96 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.03 แต่ลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.05 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 850.33 ดอลลาร์สหรัฐ (26.90 บาท/กิโลกรัม) สูงขึ้นจากตันละ 826.75 ดอลลาร์สหรัฐ (26.21 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.85 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.69 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 882.33 ดอลลาร์สหรัฐ (27.91 บาท/กิโลกรัม) สูงขึ้นจากตันละ 834.75 ดอลลาร์สหรัฐ (26.46 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.70 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 1.45 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 564.67 ดอลลาร์สหรัฐ (17.86 บาท/กิโลกรัม) สูงขึ้นจากตันละ 541.00 ดอลลาร์สหรัฐ (17.15 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.38 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.71 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 907.33 ดอลลาร์สหรัฐ (28.70 บาท/กิโลกรัม) สูงขึ้นจากตันละ 883.75 ดอลลาร์สหรัฐ (28.01 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.67 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.69 บาท
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 53.01 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 47.07 บาท
ของสัปดาห์ก่อนร้อย 12.62
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.66 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 28.01 บาท
ของสัปดาห์ก่อนร้อย 13.03
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 50.00 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 60.00 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อย 16.67
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 46.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 51.00 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อย 8.82
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 53.01 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 47.07 บาท
ของสัปดาห์ก่อนร้อย 12.62
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.66 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 28.01 บาท
ของสัปดาห์ก่อนร้อย 13.03
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 50.00 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 60.00 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อย 16.67
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 46.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 51.00 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อย 8.82
ฝ้าย
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้
ราคาฝ้ายรวมเมล็ดชนิดคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาซื้อ-ขายล่วงหน้าตลาดนิวยอร์ก (New York Cotton Futures)
ราคาซื้อ-ขายล่วงหน้า เพื่อส่งมอบเดือนกรกฎาคม 2562 สัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 72.99 (กิโลกรัมละ 51.60 บาท) ลดลงจากปอนด์ละ 75.88 เซนต์ (กิโลกรัมละ 53.74 บาท) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.81 และลดลงในรูปของเงินบาทกิโลกรัมละ 2.14 บาท
ราคาฝ้ายรวมเมล็ดชนิดคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาซื้อ-ขายล่วงหน้าตลาดนิวยอร์ก (New York Cotton Futures)
ราคาซื้อ-ขายล่วงหน้า เพื่อส่งมอบเดือนกรกฎาคม 2562 สัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 72.99 (กิโลกรัมละ 51.60 บาท) ลดลงจากปอนด์ละ 75.88 เซนต์ (กิโลกรัมละ 53.74 บาท) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.81 และลดลงในรูปของเงินบาทกิโลกรัมละ 2.14 บาท
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,631 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,626 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.31
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,303 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 852 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,303 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 852 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากในช่วงนี้สภาพอากาศค่อนข้างร้อนส่งผลให้สุกรเจริญเติบโตช้า ทำให้ปริมาณสุกรออกสู่ตลาดไม่มากนัก ส่งผลให้ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้โน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 70.53 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 69.80 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.05 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 71.27 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 69.44 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 70.52 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 71.39 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 2,100 บาท (บวกลบ 72 บาท) ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 74.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 73.50 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.36
สัปดาห์นี้ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากในช่วงนี้สภาพอากาศค่อนข้างร้อนส่งผลให้สุกรเจริญเติบโตช้า ทำให้ปริมาณสุกรออกสู่ตลาดไม่มากนัก ส่งผลให้ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้โน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 70.53 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 69.80 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.05 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 71.27 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 69.44 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 70.52 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 71.39 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 2,100 บาท (บวกลบ 72 บาท) ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 74.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 73.50 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.36
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไก่เนื้อสัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้ค่อนข้างทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการบริโภคใกล้เคียงกับผลผลิตไก่เนื้อที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 36.63 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 36.86 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.16 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 35.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 36.84 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 40.10 บาท และภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 11.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.50 บาท และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 47.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์ตลาดไก่เนื้อสัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้ค่อนข้างทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการบริโภคใกล้เคียงกับผลผลิตไก่เนื้อที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 36.63 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 36.86 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.16 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 35.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 36.84 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 40.10 บาท และภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 11.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.50 บาท และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 47.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตไข่ไก่ออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 263 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 293 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 276 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 252 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 22.00 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 18.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 22.22
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0-4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 294 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 289 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.73
ภาวะตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตไข่ไก่ออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 263 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 293 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 276 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 252 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 22.00 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 18.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 22.22
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0-4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 294 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 289 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.73
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 325 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 320 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.56 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 331 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 329 บาท ภาคกลาง ร้อยฟองละ 310 บาท และภาคใต้ ร้อยฟองละ 350 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 340 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 325 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 320 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.56 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 331 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 329 บาท ภาคกลาง ร้อยฟองละ 310 บาท และภาคใต้ ร้อยฟองละ 350 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 340 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 89.55 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 89.54 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.01 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 90.08 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 85.41 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 88.07 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 101.72 บาท
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 89.55 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 89.54 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.01 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 90.08 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 85.41 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 88.07 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 101.72 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 69.88 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 69.68 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.29 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 89.70 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 66.07 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงานราคา
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 69.88 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 69.68 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.29 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 89.70 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 66.07 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงานราคา
ประมง
1. สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
การผลิต
เปลี่ยนถ่ายกระชังลูกใหม่หรือเพิ่มออกซิเจนในน้ำนช่วงดังกล่าวเป็นช่วงที่น้ำตาย โดยเฉพาะในช่วงกลางคืนบวกกับออกซิเจนในน้ำค่อนในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 3 – 9 พฤษภาคม 2562) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้ คือ
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3-4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 45.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯเฉลี่ยกิโลกรัมละ 70.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 72.53 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 79.93 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 7.40 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 120.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัมเฉลี่ยกิโลกรัมละ 139.25 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 140.91 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.66 บาท
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม เฉลี่ยกิโลกรัมละ 125.00 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 129.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 4.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาปลาทูสดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 76.65 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 80.88 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 4.23 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 85.00 บาท ราคา ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาปลาหมึกกระดองสดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ย กิโลกรัมละ 150.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 142.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 8.00 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 260.00 บาท ราคา ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.16 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาขายส่งปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% (ระหว่างวันที่ 3 – 9 พฤษภาคม 2562) ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 26.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
1. สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
การผลิต
เปลี่ยนถ่ายกระชังลูกใหม่หรือเพิ่มออกซิเจนในน้ำนช่วงดังกล่าวเป็นช่วงที่น้ำตาย โดยเฉพาะในช่วงกลางคืนบวกกับออกซิเจนในน้ำค่อนในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 3 – 9 พฤษภาคม 2562) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้ คือ
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3-4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 45.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯเฉลี่ยกิโลกรัมละ 70.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 72.53 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 79.93 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 7.40 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 120.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัมเฉลี่ยกิโลกรัมละ 139.25 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 140.91 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.66 บาท
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม เฉลี่ยกิโลกรัมละ 125.00 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 129.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 4.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาปลาทูสดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 76.65 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 80.88 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 4.23 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 85.00 บาท ราคา ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาปลาหมึกกระดองสดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ย กิโลกรัมละ 150.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 142.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 8.00 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 260.00 บาท ราคา ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.16 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาขายส่งปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% (ระหว่างวันที่ 3 – 9 พฤษภาคม 2562) ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 26.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา