- ข้อมูลเศรษฐกิจการเกษตร
- สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์
- รายละเอียดสถานการณ์ผลิดและการตลาด
สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 23-29 พ.ย. 61
ข้าว
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การตลาด
มาตรการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าวปีการผลิต2561/62
มติที่ประชุม คณะกรรมการนโยบายและบริหารจัดการข้าว (นบข.)ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2561 เห็นชอบในหลักการมาตรการฯ ด้านการผลิตและการตลาด ทั้งหมด10 โครงการดังนี้
(1) ด้านการผลิต*ได้แก่
1) โครงการส่งเสริมระบบการเกษตรแบบนาแปลงใหญ่ (นาแปลงใหญ่)
2) โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวอินทรีย์
3) โครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง
4) โครงการส่งเสริมระบบการเกษตรแบบแม่นยำสูง (Precision Farming)
5) โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพชั้นเลิศ
6) โครงการส่งเสริมการผลิตและการตลาดข้าวพันธุ์ กข 43 เพื่อสุขภาพแบบครบวงจร และ
7) โครงการปรับเปลี่ยนระบบการผลิตข้าวในพื้นที่ลุ่มต่ำ 13 ทุ่ง
หมายเหตุ * ด้านการผลิต เป็นโครงการที่หน่วยงานดำเนินการตามปกติ จึงไม่นำเข้าที่ประชุม ครม.พิจารณามาตรการฯ
(2) ด้านการตลาด
- มติที่ประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 24กรกฎาคม 2561 อนุมัติการดำเนินโครงการและวงเงินงบประมาณที่ใช้ช่วยเหลือเกษตรกรและรักษาเสถียรภาพราคาข้าว ปีการผลิต 2561/62 ด้านการตลาด จำนวน 3 โครงการ ได้แก่
1) โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือกนาปีและการช่วยเหลือค่าเก็บเกี่ยวและปรับปรุงคุณภาพข้าว
2) โครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร และ
3) โครงการชดเชยดอกเบี้ยให้ผู้ประกอบการค้าข้าวในการเก็บสต็อก
- มติที่ประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 11กันยายน 2561 อนุมัติทบทวนมาตรการรักษาเสถียรภาพราคาข้าว ปีการผลิต 2561/62 โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2561/61 ตามมติคณะกรรมการนบข.เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2561ที่กระทรวงพาณิชย์เสนอดังนี้
(1) กรณีเกษตรกรฝากเก็บข้าวไว้ที่สหกรณ์หรือสถาบันเกษตรกร ให้ปรับปรุงให้ค่าเก็บรักษาข้าวเปลือก
(2) เกษตรกรและสถาบันเกษตรกร ต้องเก็บรักษาข้าวเปลือกหลักประกันไว้ในยุ้งฉางหรือสถานที่เก็บของตนเองเท่านั้น
(3) ปรับปรุงวิธีการเก็บรักษาข้าวเปลือกของสถาบันเกษตรกร ต้องเก็บรักษาข้าวเปลือกโดยบรรจุข้าวเปลือกในกระสอบป่านหรือถุง Big bag และวางเรียงในยุ้งฉางหรือสถานที่เก็บเพื่อสะดวกในการตรวจสอบ หรือเก็บข้าวในยุ้งฉางที่ยกพื้นสูงหรือไซโล (SILO) ยกเว้นกรณีเทกองจะต้องมีระบบการระบายอากาศ เพื่อการรักษาคุณภาพข้าวเปลือกไม่ให้เสื่อมสภาพตลอดระยะเวลาโครงการ
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิสัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 15,164 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,244 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.52
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 9,670 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากตันละ 8,002 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.99
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 34,050บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 11,750บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 1,112 ดอลลาร์สหรัฐฯ (36,409 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 1,113 ดอลลาร์สหรัฐฯ (36,397 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.08 แต่สูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 12 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 400 ดอลลาร์สหรัฐฯ (13,097 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 401 ดอลลาร์สหรัฐฯ (13,113 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.24 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 16 บาท
ข้าวขาว 25% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 391 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,802 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 390 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,754 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.25 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 48 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 400 ดอลลาร์สหรัฐฯ (13,097 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 401 ดอลลาร์สหรัฐฯ (13,113 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.24 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 16 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 32.7416
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
เวียดนาม
ภาวะราคาข้าวขาว 5% ในสัปดาห์ที่ผ่านมาอ่อนตัวลงมาอยู่ที่ตันละ 410 ดอลลาร์สหรัฐ จากตันละ 415-420 ดอลลาร์สหรัฐ เมื่อสัปดาห์ก่อนหน้า ขณะที่ภาวะการค้ายังคงค่อนข้างซบเซา เนื่องจากในช่วงนี้ผู้ส่งออกไม่ค่อย
ทำสัญญาขายข้าว เพราะราคาข้าวของเวียดนามสูงกว่าประเทศผู้ส่งออกรายใหญ่อื่นๆ ประกอบกับ อุปทานข้าวในประเทศมีจำกัด ขณะที่วงการค้าคาดว่า ราคาข้าวมีแนวโน้มอ่อนตัวลงมาอยู่ในระดับใกล้เคียงกับประเทศคู่แข่งอื่นๆ
เช่น ไทย อินเดีย และคาดว่าภาวะตลาดในประเทศจะยังคงซบเซาไปจนถึงต้นปีหน้าซึ่งเป็นช่วงที่ผลผลิตข้าวฤดูหนาว (the winter-spring crop) จะออกสู่ตลาด
ขณะเดียวกันวงการค้ากำลังจับตากรณีที่บริษัท The Tan Long Group ชนะการประมูลข้าวของฟิลิปปินส์
จำนวน 118,000 ตัน แต่ยังไม่มีความชัดเจนว่าบริษัทดังกล่าวจะซื้อข้าวในประเทศเพื่อส่งมอบให้ฟิลิปปินส์ หรือหาซื้อจากแหล่งใด
มีรายงานว่า คณะผู้แทนการค้าของจีนประมาณ 22 ราย จากมณฑลกวางตุ้ง ซึ่งมีบริษัทนำเข้าข้าวข้าวด้วย
เดินทางไปเยือนเวียดนามเพื่อกระชับความสัมพันธ์ทางการค้าและหาลู่ทางในการขยายปริมาณการค้าระหว่างกัน ทั้งนี้ประเทศจีนถือเป็นผู้นำเข้าข้าวรายใหญ่ที่สุดของเวียดนามในปัจจุบัน โดยในช่วง 10 เดือนแรก เวียดนามส่งข้าวไปประเทศจีนแล้วประมาณ 1.24 ล้านตัน มูลค่ากว่า 640 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
ที่มา : สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
ฟิลิปปินส์
อธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ (นายอดุลย์ โชตินิสากรณ์) เปิดเผยว่า วันที่ 28 พฤศจิกายน 2561 กรมการค้าต่างประเทศชนะการประมูลนำเข้าข้าวขาว 25% ฤดูกาลผลิตใหม่ของหน่วยงาน National Food Authority (NFA) รัฐบาลสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ปริมาณ 80,000 ตัน กำหนดส่งมอบข้าวภายในเดือนธันวาคม 2561
ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายนที่ผ่านมา NFA ได้เปิดประมูลนำเข้าข้าวเป็นการทั่วไปหรือประมูลของเอกชน
เป็นข้าวขาว 25% ปริมาณ 500,000 ตัน ปรากฏว่า ผู้ส่งออกข้าวไทย 2 ราย ชนะการประมูลรวม 144,000 ตัน คิดเป็นร้อยละ 28 ของปริมาณที่เปิดประมูล โดยมีกำหนดส่งมอบเดือนธันวาคม 2561 – ม.ค. 2562
ก่อนหน้านั้น เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2561 รองนายกรัฐมนตรี (พล.อ.ฉัตรชัย สาริกัลยะ) ในฐานะรองประธานกรรมการนโยบายและบริหารจัดการข้าว (นบข.) ได้ให้ความเห็นชอบการตกลงราคาขายข้าวงวดที่ 7 กับ COFCO Corporation (COFCO) รัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนจีน ปริมาณ 100,000 ตัน เป็นข้าวขาว 5% ฤดูกาลผลิตใหม่
มีกำหนดส่งมอบปลายเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม และเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2561
นายอดุลย์ กล่าวว่า ไทยจะต้องเตรียมส่งออกข้าวทั้งของรัฐบาลและเอกชนปริมาณรวม 324,000 ตัน ซึ่งถือเป็นข่าวดีอย่างยิ่งส่งท้ายปีสำหรับชาวนาและตลาดข้าวไทย เนื่องจากมีคำสั่งซื้อจากต่างประเทศปริมาณมากมารองรับผลผลิตข้าวนาปีที่กำลังออกสู่ตลาดในช่วงสิ้นปีนี้ โดยผู้ส่งออกข้าวจะต้องไปรับซื้อข้าวเปลือกจากชาวนาเพื่อส่งมอบ และการส่งออกข้าวปริมาณมากในระยะเวลาที่สั้นจะช่วยให้การระบายข้าวฤดูกาลผลิตใหม่เป็นไปได้อย่างรวดเร็ว ส่งผลบวกต่อราคาข้าวเปลือกที่เกษตรกรจะได้รับเสถียรภาพมากยิ่งขึ้นและต่อการค้าข้าวไทยทั้งระบบ
อธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ กล่าวว่า ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 27 พฤศจิกายน 2561 ไทยส่งออกข้าวแล้วปริมาณ 9.89 ล้านตัน คิดเป็นมูลค่า 161,384 ล้านบาท มูลค่าเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 4.52 มั่นใจว่าไทยจะส่งออกข้าวได้ 11 ล้านตัน ตามเป้าอย่างแน่นอน เนื่องจากประเทศผู้นำเข้าข้าวยังมีคำสั่งซื้อข้าวไทยอย่างต่อเนื่อง อาทิ กลุ่มประเทศในภูมิภาคแอฟริกาที่จะมีการนำเข้าข้าวก่อนช่วงเทศกาลคริสต์มาส
ที่มา : www.ryt9.com
กราฟราคาที่เกษตรกรขายได้ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% และราคาขายส่งตลาด กทม. ข้าวสารเจ้า 5%
1.1 การตลาด
มาตรการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าวปีการผลิต2561/62
มติที่ประชุม คณะกรรมการนโยบายและบริหารจัดการข้าว (นบข.)ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2561 เห็นชอบในหลักการมาตรการฯ ด้านการผลิตและการตลาด ทั้งหมด10 โครงการดังนี้
(1) ด้านการผลิต*ได้แก่
1) โครงการส่งเสริมระบบการเกษตรแบบนาแปลงใหญ่ (นาแปลงใหญ่)
2) โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวอินทรีย์
3) โครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง
4) โครงการส่งเสริมระบบการเกษตรแบบแม่นยำสูง (Precision Farming)
5) โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพชั้นเลิศ
6) โครงการส่งเสริมการผลิตและการตลาดข้าวพันธุ์ กข 43 เพื่อสุขภาพแบบครบวงจร และ
7) โครงการปรับเปลี่ยนระบบการผลิตข้าวในพื้นที่ลุ่มต่ำ 13 ทุ่ง
หมายเหตุ * ด้านการผลิต เป็นโครงการที่หน่วยงานดำเนินการตามปกติ จึงไม่นำเข้าที่ประชุม ครม.พิจารณามาตรการฯ
(2) ด้านการตลาด
- มติที่ประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 24กรกฎาคม 2561 อนุมัติการดำเนินโครงการและวงเงินงบประมาณที่ใช้ช่วยเหลือเกษตรกรและรักษาเสถียรภาพราคาข้าว ปีการผลิต 2561/62 ด้านการตลาด จำนวน 3 โครงการ ได้แก่
1) โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือกนาปีและการช่วยเหลือค่าเก็บเกี่ยวและปรับปรุงคุณภาพข้าว
2) โครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร และ
3) โครงการชดเชยดอกเบี้ยให้ผู้ประกอบการค้าข้าวในการเก็บสต็อก
- มติที่ประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 11กันยายน 2561 อนุมัติทบทวนมาตรการรักษาเสถียรภาพราคาข้าว ปีการผลิต 2561/62 โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2561/61 ตามมติคณะกรรมการนบข.เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2561ที่กระทรวงพาณิชย์เสนอดังนี้
(1) กรณีเกษตรกรฝากเก็บข้าวไว้ที่สหกรณ์หรือสถาบันเกษตรกร ให้ปรับปรุงให้ค่าเก็บรักษาข้าวเปลือก
(2) เกษตรกรและสถาบันเกษตรกร ต้องเก็บรักษาข้าวเปลือกหลักประกันไว้ในยุ้งฉางหรือสถานที่เก็บของตนเองเท่านั้น
(3) ปรับปรุงวิธีการเก็บรักษาข้าวเปลือกของสถาบันเกษตรกร ต้องเก็บรักษาข้าวเปลือกโดยบรรจุข้าวเปลือกในกระสอบป่านหรือถุง Big bag และวางเรียงในยุ้งฉางหรือสถานที่เก็บเพื่อสะดวกในการตรวจสอบ หรือเก็บข้าวในยุ้งฉางที่ยกพื้นสูงหรือไซโล (SILO) ยกเว้นกรณีเทกองจะต้องมีระบบการระบายอากาศ เพื่อการรักษาคุณภาพข้าวเปลือกไม่ให้เสื่อมสภาพตลอดระยะเวลาโครงการ
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิสัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 15,164 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,244 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.52
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 9,670 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากตันละ 8,002 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.99
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 34,050บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 11,750บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 1,112 ดอลลาร์สหรัฐฯ (36,409 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 1,113 ดอลลาร์สหรัฐฯ (36,397 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.08 แต่สูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 12 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 400 ดอลลาร์สหรัฐฯ (13,097 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 401 ดอลลาร์สหรัฐฯ (13,113 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.24 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 16 บาท
ข้าวขาว 25% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 391 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,802 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 390 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,754 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.25 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 48 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 400 ดอลลาร์สหรัฐฯ (13,097 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 401 ดอลลาร์สหรัฐฯ (13,113 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.24 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 16 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 32.7416
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
เวียดนาม
ภาวะราคาข้าวขาว 5% ในสัปดาห์ที่ผ่านมาอ่อนตัวลงมาอยู่ที่ตันละ 410 ดอลลาร์สหรัฐ จากตันละ 415-420 ดอลลาร์สหรัฐ เมื่อสัปดาห์ก่อนหน้า ขณะที่ภาวะการค้ายังคงค่อนข้างซบเซา เนื่องจากในช่วงนี้ผู้ส่งออกไม่ค่อย
ทำสัญญาขายข้าว เพราะราคาข้าวของเวียดนามสูงกว่าประเทศผู้ส่งออกรายใหญ่อื่นๆ ประกอบกับ อุปทานข้าวในประเทศมีจำกัด ขณะที่วงการค้าคาดว่า ราคาข้าวมีแนวโน้มอ่อนตัวลงมาอยู่ในระดับใกล้เคียงกับประเทศคู่แข่งอื่นๆ
เช่น ไทย อินเดีย และคาดว่าภาวะตลาดในประเทศจะยังคงซบเซาไปจนถึงต้นปีหน้าซึ่งเป็นช่วงที่ผลผลิตข้าวฤดูหนาว (the winter-spring crop) จะออกสู่ตลาด
ขณะเดียวกันวงการค้ากำลังจับตากรณีที่บริษัท The Tan Long Group ชนะการประมูลข้าวของฟิลิปปินส์
จำนวน 118,000 ตัน แต่ยังไม่มีความชัดเจนว่าบริษัทดังกล่าวจะซื้อข้าวในประเทศเพื่อส่งมอบให้ฟิลิปปินส์ หรือหาซื้อจากแหล่งใด
มีรายงานว่า คณะผู้แทนการค้าของจีนประมาณ 22 ราย จากมณฑลกวางตุ้ง ซึ่งมีบริษัทนำเข้าข้าวข้าวด้วย
เดินทางไปเยือนเวียดนามเพื่อกระชับความสัมพันธ์ทางการค้าและหาลู่ทางในการขยายปริมาณการค้าระหว่างกัน ทั้งนี้ประเทศจีนถือเป็นผู้นำเข้าข้าวรายใหญ่ที่สุดของเวียดนามในปัจจุบัน โดยในช่วง 10 เดือนแรก เวียดนามส่งข้าวไปประเทศจีนแล้วประมาณ 1.24 ล้านตัน มูลค่ากว่า 640 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
ที่มา : สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
ฟิลิปปินส์
อธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ (นายอดุลย์ โชตินิสากรณ์) เปิดเผยว่า วันที่ 28 พฤศจิกายน 2561 กรมการค้าต่างประเทศชนะการประมูลนำเข้าข้าวขาว 25% ฤดูกาลผลิตใหม่ของหน่วยงาน National Food Authority (NFA) รัฐบาลสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ปริมาณ 80,000 ตัน กำหนดส่งมอบข้าวภายในเดือนธันวาคม 2561
ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายนที่ผ่านมา NFA ได้เปิดประมูลนำเข้าข้าวเป็นการทั่วไปหรือประมูลของเอกชน
เป็นข้าวขาว 25% ปริมาณ 500,000 ตัน ปรากฏว่า ผู้ส่งออกข้าวไทย 2 ราย ชนะการประมูลรวม 144,000 ตัน คิดเป็นร้อยละ 28 ของปริมาณที่เปิดประมูล โดยมีกำหนดส่งมอบเดือนธันวาคม 2561 – ม.ค. 2562
ก่อนหน้านั้น เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2561 รองนายกรัฐมนตรี (พล.อ.ฉัตรชัย สาริกัลยะ) ในฐานะรองประธานกรรมการนโยบายและบริหารจัดการข้าว (นบข.) ได้ให้ความเห็นชอบการตกลงราคาขายข้าวงวดที่ 7 กับ COFCO Corporation (COFCO) รัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนจีน ปริมาณ 100,000 ตัน เป็นข้าวขาว 5% ฤดูกาลผลิตใหม่
มีกำหนดส่งมอบปลายเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม และเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2561
นายอดุลย์ กล่าวว่า ไทยจะต้องเตรียมส่งออกข้าวทั้งของรัฐบาลและเอกชนปริมาณรวม 324,000 ตัน ซึ่งถือเป็นข่าวดีอย่างยิ่งส่งท้ายปีสำหรับชาวนาและตลาดข้าวไทย เนื่องจากมีคำสั่งซื้อจากต่างประเทศปริมาณมากมารองรับผลผลิตข้าวนาปีที่กำลังออกสู่ตลาดในช่วงสิ้นปีนี้ โดยผู้ส่งออกข้าวจะต้องไปรับซื้อข้าวเปลือกจากชาวนาเพื่อส่งมอบ และการส่งออกข้าวปริมาณมากในระยะเวลาที่สั้นจะช่วยให้การระบายข้าวฤดูกาลผลิตใหม่เป็นไปได้อย่างรวดเร็ว ส่งผลบวกต่อราคาข้าวเปลือกที่เกษตรกรจะได้รับเสถียรภาพมากยิ่งขึ้นและต่อการค้าข้าวไทยทั้งระบบ
อธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ กล่าวว่า ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 27 พฤศจิกายน 2561 ไทยส่งออกข้าวแล้วปริมาณ 9.89 ล้านตัน คิดเป็นมูลค่า 161,384 ล้านบาท มูลค่าเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 4.52 มั่นใจว่าไทยจะส่งออกข้าวได้ 11 ล้านตัน ตามเป้าอย่างแน่นอน เนื่องจากประเทศผู้นำเข้าข้าวยังมีคำสั่งซื้อข้าวไทยอย่างต่อเนื่อง อาทิ กลุ่มประเทศในภูมิภาคแอฟริกาที่จะมีการนำเข้าข้าวก่อนช่วงเทศกาลคริสต์มาส
ที่มา : www.ryt9.com
กราฟราคาที่เกษตรกรขายได้ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% และราคาขายส่งตลาด กทม. ข้าวสารเจ้า 5%
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดภายในประเทศในช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5 % สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.39 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.37 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.24 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5 % สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.87 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.65 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.31
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อสัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ10.13 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 10.10 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.30 และราคาขายส่งไซโลรับซื้อสัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.63 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 9.71 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.82
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 319.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,445 บาท/ตัน) เพิ่มขึ้นจากตันละ 317.20 ดอลลาร์สหรัฐ (10,373 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.57 และเพิ่มขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 72 บาท
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนธันวาคม 2561 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 358.40 เซนต์ (4,681 บาท/ตัน) ลดลงจากบุชเชลละ 362.40 เซนต์ (4,727 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.10 และลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 46 บาท
ราคาข้าวโพดภายในประเทศในช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5 % สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.39 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.37 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.24 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5 % สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.87 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.65 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.31
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อสัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ10.13 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 10.10 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.30 และราคาขายส่งไซโลรับซื้อสัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.63 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 9.71 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.82
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 319.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,445 บาท/ตัน) เพิ่มขึ้นจากตันละ 317.20 ดอลลาร์สหรัฐ (10,373 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.57 และเพิ่มขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 72 บาท
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนธันวาคม 2561 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 358.40 เซนต์ (4,681 บาท/ตัน) ลดลงจากบุชเชลละ 362.40 เซนต์ (4,727 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.10 และลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 46 บาท
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลัง ปี 2562 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2561 – กันยายน 2562) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.40 ล้านไร่ ผลผลิต 29.98 ล้านตัน ผลผลลิตต่อไร่ 3.57 ตัน เมื่อเทียบกับปี 2561
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.03 ล้านไร่ ผลผลิต 27.88 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3.47 ตัน พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ สูงขึ้นร้อยละ 4.61 ร้อยละ 7.53 และร้อยละ 2.88 ตามลำดับ โดยเดือนพฤศจิกายน 2561
คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 1.71 ล้านตัน (ร้อยละ 5.72 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2562 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2562 ปริมาณ 20.08 ล้านตัน (ร้อยละ 67 ของผลผลิตทั้งหมด)
การตลาด
หัวมันสำปะหลังออกสู่ตลาดเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ราคามันสำปะหลังปรับตัวลดลง
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2.42 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 2.44 บาท ในสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 2.89
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.67 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.44 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 6.58 บาท ในสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 2.13
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต กรุงเทพและปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 14.33 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 14.60 บาท ในสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 1.85
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 213 ดอลลาร์สหรัฐฯ (7,194 บาทต่อตัน) ราคาลดลงจากตันละ 220 ดอลลาร์สหรัฐฯ (7,365 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 3.18
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 473 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15,795 บาทต่อตัน) ราคาลดลงจากตันละ 483 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15,974 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 2.07
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลัง ปี 2562 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2561 – กันยายน 2562) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.40 ล้านไร่ ผลผลิต 29.98 ล้านตัน ผลผลลิตต่อไร่ 3.57 ตัน เมื่อเทียบกับปี 2561
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.03 ล้านไร่ ผลผลิต 27.88 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3.47 ตัน พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ สูงขึ้นร้อยละ 4.61 ร้อยละ 7.53 และร้อยละ 2.88 ตามลำดับ โดยเดือนพฤศจิกายน 2561
คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 1.71 ล้านตัน (ร้อยละ 5.72 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2562 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2562 ปริมาณ 20.08 ล้านตัน (ร้อยละ 67 ของผลผลิตทั้งหมด)
การตลาด
หัวมันสำปะหลังออกสู่ตลาดเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ราคามันสำปะหลังปรับตัวลดลง
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2.42 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 2.44 บาท ในสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 2.89
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.67 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.44 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 6.58 บาท ในสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 2.13
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต กรุงเทพและปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 14.33 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 14.60 บาท ในสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 1.85
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 213 ดอลลาร์สหรัฐฯ (7,194 บาทต่อตัน) ราคาลดลงจากตันละ 220 ดอลลาร์สหรัฐฯ (7,365 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 3.18
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 473 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15,795 บาทต่อตัน) ราคาลดลงจากตันละ 483 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15,974 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 2.07
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2561 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนพฤศจิกายนจะมีประมาณ 1.450
ล้านตันคิด เป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.246 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.325 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.225 ล้านตัน ของเดือนตุลาคม 2561 คิดเป็นร้อยละ 9.43 และร้อยละ 9.33 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 2.23 บาท ลดลงจาก กก.ละ 2.50 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 10.80
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 15.50 บาท ลดลงจาก กก.ละ 15.65 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.96
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบของมาเลเซียปรับตัวลดลงในรอบ 21 เดือน
ราคาน้ำมันปาล์มดิบซื้อขายล่วงหน้าตลาดมาเลเซียส่งมอบในเดือนกุมภาพันธ์ 2562 ปรับตัวลดลงอยู่ที่ระดับ 1,965 ริงกิตต่อตัน (469.42 ดอลลาร์สหรัฐฯ) ลดลงร้อยละ 3.9 เนื่องจากการส่งออกน้ำมันปาล์มดิบปรับตัวลดลง ส่งผลให้มาเลเซียออกมาตรการเพิ่มปริมาณการใช้ไบโอดีเซลเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 10 จากร้อยละ 7 สำหรับการส่งออกน้ำมันปาล์มดิบของมาเลเซียในช่วง 1-25 วันแรกของเดือนพฤศจิกายน 2561 ปริมาณอยู่ที่ 1.041 ล้านตัน ลดลงร้อยละ 2.6 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของเดือนที่ผ่านมา การส่งออกน้ำมันปาล์มดิบปริมาณอยู่ที่ 1.069 ล้านตัน ลดลงร้อยละ 14.1 เนื่องจากน้ำมันปาล์มดิบได้รับผลกระทบจากราคาน้ำมันพืชอื่นที่แข่งขันในตลาดโลก ประกอบสัญญาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันพืชถั่วเหลืองส่งมอบในเดือนมกราคม 2562 ปรับตัวลดลง ส่งผลให้ราคาน้ำมันปาล์มดิบของมาเลเซียปรับตัวลดลง
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,847.16 ดอลลาร์มาเลเซีย (14.74 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,809.39 ดอลลาร์มาเลเซีย (14.43 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.09
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 459.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15.25 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 457.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15.14 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.55
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน
อ้อยและน้ำตาล
ถั่วเหลือง
ยางพารา
สับปะรด
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 21.90 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ และถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 25.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 18.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 25.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 792.20 ดอลลาร์สหรัฐ (25.94 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 793.60 ดอลลาร์สหรัฐ (25.95 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.18 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 700.00 ดอลลาร์สหรัฐ (22.92 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 701.20 ดอลลาร์สหรัฐ (22.93 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.17 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 577.00 ดอลลาร์สหรัฐ (18.89 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 578.00 ดอลลาร์สหรัฐ (18.90 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.17 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 423.60 ดอลลาร์สหรัฐ (13.87 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 424.40 ดอลลาร์สหรัฐ (13.88 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.19 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 786.20 ดอลลาร์สหรัฐ (25.74 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 787.40 ดอลลาร์สหรัฐ (25.75 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.15 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 21.90 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ และถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 25.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 18.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 25.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 792.20 ดอลลาร์สหรัฐ (25.94 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 793.60 ดอลลาร์สหรัฐ (25.95 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.18 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 700.00 ดอลลาร์สหรัฐ (22.92 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 701.20 ดอลลาร์สหรัฐ (22.93 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.17 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 577.00 ดอลลาร์สหรัฐ (18.89 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 578.00 ดอลลาร์สหรัฐ (18.90 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.17 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 423.60 ดอลลาร์สหรัฐ (13.87 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 424.40 ดอลลาร์สหรัฐ (13.88 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.19 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 786.20 ดอลลาร์สหรัฐ (25.74 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 787.40 ดอลลาร์สหรัฐ (25.75 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.15 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 47.83 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 47.17 บาท
ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 1.40
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 20.24 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 20.15 บาท
ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 0.45
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 60.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 51.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 47.83 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 47.17 บาท
ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 1.40
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 20.24 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 20.15 บาท
ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 0.45
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 60.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 51.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ฝ้าย
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้
ราคาฝ้ายรวมเมล็ดชนิดคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาซื้อ-ขายล่วงหน้าตลาดนิวยอร์ก (New York Cotton Futures)
ราคาซื้อ-ขายล่วงหน้า เพื่อส่งมอบเดือนธันวาคม 2561 สัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 77.79 เซนต์ (กิโลกรัมละ 56.90 บาท) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 75.95 เซนต์ (กิโลกรัมละ 55.47 บาท) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.42และสูงขึ้นในรูปของเงินบาทกิโลกรัมละ 1.43 บาท
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,684 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,683 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.06
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,252 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 1,239 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.05
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 837 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 838 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.12
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,252 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 1,239 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.05
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 837 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 838 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.12
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ในสัปดาห์นี้ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้เริ่มสูงขึ้นเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากเข้าสู่เทศกาลท่องเที่ยว ทำให้ภาวะตลาดสุกรเริ่มคึกคัก ส่งผลให้ความต้องการบริโภคเนื้อสุกรมีมากขึ้นกว่าช่วงที่ผ่านมา แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 60.43 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 59.93 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.83 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 58.48 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 57.39 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 62.03 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 60.14 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 1,800 บาท (บวกลบ 64 บาท) ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 65.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 67.50 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 2.96
ในสัปดาห์นี้ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้เริ่มสูงขึ้นเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากเข้าสู่เทศกาลท่องเที่ยว ทำให้ภาวะตลาดสุกรเริ่มคึกคัก ส่งผลให้ความต้องการบริโภคเนื้อสุกรมีมากขึ้นกว่าช่วงที่ผ่านมา แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 60.43 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 59.93 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.83 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 58.48 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 57.39 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 62.03 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 60.14 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 1,800 บาท (บวกลบ 64 บาท) ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 65.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 67.50 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 2.96
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดไก่เนื้อสัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้ค่อนข้างทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตไก่เนื้อออกสู่ตลาดมากและใกล้เคียงกับความต้องการบริโภคที่ทรงตัว แนวโน้มคาดว่าสัปดาห์หน้าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 33.17 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 33.23 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.18 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 30.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 32.90 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 39.86 บาท และภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 10.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 32.50 บาท และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 44.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ภาวะตลาดไก่เนื้อสัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้ค่อนข้างทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตไก่เนื้อออกสู่ตลาดมากและใกล้เคียงกับความต้องการบริโภคที่ทรงตัว แนวโน้มคาดว่าสัปดาห์หน้าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 33.17 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 33.23 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.18 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 30.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 32.90 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 39.86 บาท และภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 10.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 32.50 บาท และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 44.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ปรับตัวสูงขึ้นเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการบริโภคไข่ไก่เริ่มมีมากขึ้น เพราะเข้าสู่เทศกาลเฉลิมฉลองวันคริสต์มาส วันส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ ส่งผลให้ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้โน้มสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มคาดว่าสัปดาห์หน้าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 269 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 268 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.37 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 293 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 278 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 259 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 11.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0-4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 281 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สัปดาห์นี้ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ปรับตัวสูงขึ้นเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการบริโภคไข่ไก่เริ่มมีมากขึ้น เพราะเข้าสู่เทศกาลเฉลิมฉลองวันคริสต์มาส วันส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ ส่งผลให้ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้โน้มสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มคาดว่าสัปดาห์หน้าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 269 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 268 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.37 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 293 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 278 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 259 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 11.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0-4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 281 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 317 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 324 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 2.16 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 336 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 336 บาท ภาคกลาง ร้อยฟองละ 295 บาท และภาคใต้ ร้อยฟองละ 275 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 340 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 317 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 324 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 2.16 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 336 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 336 บาท ภาคกลาง ร้อยฟองละ 295 บาท และภาคใต้ ร้อยฟองละ 275 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 340 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 89.02 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 88.30 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.82 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 90.05 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 82.74 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 90.41 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 101.01 บาท
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 89.02 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 88.30 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.82 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 90.05 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 82.74 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 90.41 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 101.01 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 68.12 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.97 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.22 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 90.49 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 63.78 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงานราคา
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 68.12 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.97 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.22 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 90.49 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 63.78 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงานราคา
ประมง
1. สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
การผลิต
เปลี่ยนถ่ายกระชังลูกใหม่หรือเพิ่มออกซิเจนในน้ำนช่วงดังกล่าวเป็นช่วงที่น้ำตาย โดยเฉพาะในช่วงกลางคืนบวกกับออกซิเจนในน้ำค่อนในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 23 – 29 พฤศจิกายน 2561) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้ คือ
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.75 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.2 ปลาช่อน ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 86.54 บาท ราคาสูงขึ้นจาก
กิโลกรัมละ 86.23 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.31 บาท สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 120.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.3 กุ้งกุลาดำ ราคาที่ชาวประมงขายได้ ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัม และราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาคร ขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม เฉลี่ยกิโลกรัมละ 132.13 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 137.17 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 5.04 บาท
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาคร ขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม เฉลี่ยกิโลกรัมละ 133.33 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 129.17 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 4.16 บาท
2.5 ปลาทู ปลาทูสดขนาดกลาง ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 76.06 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 84.59 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 8.53 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 85.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.6 ปลาหมึก ราคาปลาหมึกกระดองสดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 120.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 115.00 บาทของสัปดาห์ที่ผ่านมา 5.00
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 200.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 7.95 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาขายส่งปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% (ระหว่างวันที่ 23 – 29 พ.ย. 2561) ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
การผลิต
เปลี่ยนถ่ายกระชังลูกใหม่หรือเพิ่มออกซิเจนในน้ำนช่วงดังกล่าวเป็นช่วงที่น้ำตาย โดยเฉพาะในช่วงกลางคืนบวกกับออกซิเจนในน้ำค่อนในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 23 – 29 พฤศจิกายน 2561) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้ คือ
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.75 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.2 ปลาช่อน ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 86.54 บาท ราคาสูงขึ้นจาก
กิโลกรัมละ 86.23 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.31 บาท สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 120.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.3 กุ้งกุลาดำ ราคาที่ชาวประมงขายได้ ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัม และราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาคร ขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม เฉลี่ยกิโลกรัมละ 132.13 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 137.17 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 5.04 บาท
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาคร ขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม เฉลี่ยกิโลกรัมละ 133.33 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 129.17 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 4.16 บาท
2.5 ปลาทู ปลาทูสดขนาดกลาง ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 76.06 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 84.59 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 8.53 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 85.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.6 ปลาหมึก ราคาปลาหมึกกระดองสดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 120.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 115.00 บาทของสัปดาห์ที่ผ่านมา 5.00
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 200.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 7.95 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาขายส่งปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% (ระหว่างวันที่ 23 – 29 พ.ย. 2561) ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา