- ข้อมูลเศรษฐกิจการเกษตร
- ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร
- รายละเอียดภาวะเศรษฐกิจการเกษตร
ข้อมูลเศรษฐกิจการเกษตร
สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 22-28 กุมภาพันธ์ 2562
ข้าว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การตลาด
มาตรการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าวปีการผลิต 2561/62
มติที่ประชุม คณะกรรมการนโยบายและบริหารจัดการข้าว (นบข.) ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2561 เห็นชอบในหลักการมาตรการฯ ด้านการผลิตและการตลาด ทั้งหมด10 โครงการดังนี้
(1) ด้านการผลิต*ได้แก่
1) โครงการส่งเสริมระบบการเกษตรแบบนาแปลงใหญ่ (นาแปลงใหญ่)
2) โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวอินทรีย์
3) โครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง
4) โครงการส่งเสริมระบบการเกษตรแบบแม่นยำสูง (Precision Farming)
5) โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพชั้นเลิศ
6) โครงการส่งเสริมการผลิตและการตลาดข้าวพันธุ์ กข 43 เพื่อสุขภาพแบบครบวงจร
7) โครงการปรับเปลี่ยนระบบการผลิตข้าวในพื้นที่ลุ่มต่ำ 13 ทุ่ง
หมายเหตุ * ด้านการผลิต เป็นโครงการที่หน่วยงานดำเนินการตามปกติ จึงไม่นำเข้าที่ประชุม ครม.พิจารณามาตรการฯ
(2) ด้านการตลาด
- มติที่ประชุม คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2561 อนุมัติการดำเนินโครงการและวงเงินงบประมาณที่ใช้ช่วยเหลือเกษตรกรและรักษาเสถียรภาพราคาข้าว ปีการผลิต 2561/62 ด้านการตลาด จำนวน 3 โครงการ ได้แก่ โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือกนาปีและการช่วยเหลือค่าเก็บเกี่ยวและปรับปรุงคุณภาพข้าว
2) โครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร และ 3) โครงการชดเชยดอกเบี้ยให้ผู้ประกอบการค้าข้าวในการเก็บสต็อก
- มติที่ประชุม คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 11กันยายน 2561 อนุมัติทบทวนมาตรการรักษาเสถียรภาพราคาข้าว ปีการผลิต 2561/62 โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2561/61 ตามมติคณะกรรมการนบข. เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2561 ที่กระทรวงพาณิชย์เสนอดังนี้
(1) กรณีเกษตรกรฝากเก็บข้าวไว้ที่สหกรณ์หรือสถาบันเกษตรกร ให้ปรับปรุงให้ค่าเก็บรักษาข้าวเปลือก
(2) เกษตรกรและสถาบันเกษตรกร ต้องเก็บรักษาข้าวเปลือกหลักประกันไว้ในยุ้งฉางหรือสถานที่เก็บของตนเองเท่านั้น
(3) ปรับปรุงวิธีการเก็บรักษาข้าวเปลือกของสถาบันเกษตรกร ต้องเก็บรักษาข้าวเปลือกโดยบรรจุข้าวเปลือกในกระสอบป่านหรือถุง Big bag และวางเรียงในยุ้งฉางหรือสถานที่เก็บเพื่อสะดวกในการตรวจสอบ หรือเก็บข้าวในยุ้งฉางที่ยกพื้นสูงหรือไซโล (SILO) ยกเว้นกรณีเทกองจะต้องมีระบบการระบายอากาศ เพื่อการรักษาคุณภาพข้าวเปลือกไม่ให้เสื่อมสภาพตลอดระยะเวลาโครงการ
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิสัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 15,723 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,632 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.58
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 7,542 บาท ราคาลดลงจากตันละ 7,652 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.44
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 34,050 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 11,290 บาท ราคาลดลงจากตันละ 11,350 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.53
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 1,171 ดอลลาร์สหรัฐฯ (36,399 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 1,180 ดอลลาร์สหรัฐฯ (36,502 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.76 และลดลงในรูปเงินบาท ตันละ 103 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 402 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,496 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 412 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,745 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.43 และลดลงในรูปเงินบาท ตันละ 249 บาท
ข้าวขาว 25% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 395 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,278 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 404 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,497 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.23 และลดลงในรูปเงินบาท ตันละ 219 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 409 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,713 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 415 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,838 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.45 และลดลงในรูปเงินบาท ตันละ 125 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 31.0837
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
เวียดนาม
ภาวะราคาข้าวขาว 5% เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา ทรงตัวอยู่ในระดับ 340 เหรียญสหรัฐต่อตัน ท่ามกลางภาวะที่อุปทานข้าวในตลาดมีมากขึ้น จากการที่เกษตรกรกำลังเก็บเกี่ยวผลผลิตข้าวในฤดูการผลิตฤดูหนาวในเขต
ที่ราบลุ่มแม่น้ำโขง ขณะที่ความต้องการข้าวเริ่มมีเข้ามาจากประเทศจีน
มีรายงานว่า หลังจากที่มีการประชุมหารือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงเกษตร (the Ministry of Agriculture and Rural Development) กระทรวงการค้าและอุตสาหกรรม (the Ministry of Industry and Trade) ธนาคารแห่งชาติ (the State Bank of Vietnam; SBV) รวมทั้งสมาคมอาหารเวียดนาม (the Vietnam Food Association) นายกรัฐมนตรี Nguyen Xuan Phuc ได้อนุมัติข้อเสนอมาตรการรับซื้อข้าวจากเกษตรกรประมาณ 280,000 ตัน เพื่อเก็บสต็อกไว้และช่วยพยุงราคาข้าวในเขตที่ราบลุ่มแม่น้ำโขง (the Mekong Delta region)
ซึ่งเป็นแหล่งผลิตข้าวที่สำคัญของประเทศไม่ให้ลดต่ำลง โดยจะซื้อข้าวเปลือก 80,000 ตัน และข้าวสาร 200,000 ตัน นอกจากนี้ สมาคมอาหารฯ จะเร่งเก็บสต็อกข้าวเพื่อเตรียมส่งออกไปยังประเทศฟิลิปปินส์ประมาณ 200,000 ตัน และ จีนประมาณ 100,000 ตัน
ขณะที่มีการรายงาน เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2562 บริษัท Vinafood 2 (the Vietnam Southern Food Corporation) ได้ลงนามในบันทึกความเข้าใจ (a memorandum of understanding; MoU) ในการซื้อขายข้าวจำนวน 100,000 ตัน กับบริษัทนำเข้าข้าวของจีน (Food Valley of China; FVC) ประกอบด้วย ข้าวเหนียวจำนวน 30,000 ตัน และข้าวขาวจำนวน 70,000 ตัน โดยคาดว่าจะมีการส่งมอบในช่วงครึ่งแรกของปีนี้ ทั้งนี้ เมื่อปีที่ผ่านมาเวียดนามส่งออกข้าวไปประเทศจีนประมาณ 1.3 ล้านตัน และหลังจากที่มีข่าวว่ารัฐบาลจะมีมาตรการรับซื้อข้าวเพื่อเก็บสต็อกไว้ ส่งผลให้ราคาข้าวเปลือกในเขตที่ราบลุ่มแม่น้ำโขงเริ่มขยับสูงขึ้น โดยเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ ราคาข้าวเปลือกได้ปรับตัวสูงขึ้นประมาณ 100-150 ดองต่อกิโลกรัม มาอยู่ที่ 4,400-5,500 ดองต่อกิโลกรัม ขณะที่บริษัท VietNam Southern Food Corporation (VINAFOOD 2) ได้ส่งเจ้าหน้าที่ จำนวน 12 ราย ลงพื้นที่เพื่อซื้อข้าวเปลือกฤดูการผลิตฤดูหนาว-ฤดูใบไม้ผลิต (winter-spring rice crop) ในพื้นที่สามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง ขณะที่สมาคมอาหารเวียดนามได้เสนอความช่วยเหลือทางการเงินสำหรับการซื้อข้าวเปลือกด้วย
กระทรวงเกษตร (the Ministry of Agriculture and Rural Development; MARD) กำลังพิจารณาแผนการผลิตและการส่งออกข้าวของประเทศในอนาคต โดยในช่วงระหว่างปี 2554-2560 เวียดนามส่งออกข้าวประมาณปีละ 5-7
ล้านตัน มูลค่าประมาณ 2.5-3.5 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยที่ตลาดหลัก คือ ตลาดเอเชีย คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 70 ประเทศจีนมีสัดส่วนนำเข้าประมาณร้อยละ 35 รองลงมาเป็นฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ขณะที่ตลาดแอฟริกามีสัดส่วนนำเข้าประมาณร้อยละ 28
อย่างไรก็ตาม กระทรวงเกษตรมองว่าการส่งออกข้าวยังคงมีความเสี่ยงและไม่แน่นอนจากภาวการณ์แข่งขัน ที่รุนแรงกับประเทศคู่แข่ง เช่น ไทย อินเดีย ดังนั้นรัฐบาลจึงต้องพิจารณาเรื่องการส่งออกอีกครั้ง โดยจะลดปริมาณส่งออกและเพิ่มมูลค่าส่งออกให้มากขึ้น
ทั้งนี้ รัฐบาลได้กำหนดแผนการส่งออกในช่วงปี 2560-2563 โดยกำหนดเป้าหมายการส่งออก 4.5-5 ล้านตัน มูลค่าประมาณ 2.2-2.3 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ และในช่วงปี 2564-2573 กำหนดเป้าหมายการส่งออก 4 ล้านตัน มูลค่าประมาณ 2.3- 2.5 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งการจะบรรลุเป้าหมายดังกล่าวนั้น จะต้องมีการลดการผลิตข้าวคุณภาพต่ำถึงปานกลาง ให้คงเหลือประมาณร้อยละ 20 ของผลผลิตทั้งหมด และเปลี่ยนไปปลูกข้าวขาวคุณภาพสูงในสัดส่วนเพิ่มขึ้นร้อยละ 25 ของผลผลิตทั้งหมด ส่วนของข้าวหอม ข้าวญี่ปุ่น และข้าวชนิดพิเศษ ในสัดส่วนร้อยละ 30 และข้าวเหนียวในสัดส่วนร้อยละ 20 ส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 5 เป็นผลิตภัณฑ์ข้าวที่มีการเพิ่มมูลค่า เช่น ข้าวที่เน้นด้านโภชนาการ ข้าวนึ่ง และข้าวอินทรีย์ เป็นต้น โดยตั้งเป้าหมายว่าหลังจากปี 2573 สัดส่วนการผลิตข้าวคุณภาพต่ำจะมีเพียงร้อยละ 10 เท่านั้น
ในปี 2562 นี้ กระทรวงเกษตร (Ministry of Agriculture and Rural Development) ได้ตั้งเป้าหมายส่งออกข้าวไว้ที่ 6-7 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา ที่ส่งออกได้ประมาณ 6.1 ล้านตัน มูลค่าประมาณ 3.1 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยในเดือนมกราคมที่ผ่านมา เวียดนามส่งออกข้าวได้ประมาณ 373,000 ตัน มูลค่า 180 ล้าน เหรียญสหรัฐฯ ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา ประมาณร้อยละ 24.2 และร้อยละ 24.8 ตามลำดับ
ที่มา สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
ฟิลิปปินส์
รัฐบาลฟิลิปปินส์ยอมรับว่าเป้าหมายการพึ่งพาผลผลิตข้าวในประเทศ (rice self-sufficiency) ให้ได้ถึงร้อยละ 100 โดยไม่ต้องมีการนำเข้านั้น ยังไม่สามารถบรรลุเป้าหมายได้ โดยในปี 2561 ที่ผ่านมา รัฐบาลได้ตั้งเป้าหมายดังกล่าวไว้ แต่หากพิจารณาจากปัจจัยรอบด้านแล้วสามารถทำได้เพียงร้อยละ 93 เท่านั้น ซึ่งเมื่อพิจารณาจากภาวะการผลิตข้าวในปัจจุบันจะพบว่า ฟิลิปปินส์ยังคงมีความต้องการข้าวปีละประมาณ 600,000-800,000 ตัน เพื่อให้เพียงพอกับความต้องการบริโภคในประเทศ
ทั้งนี้ จากการที่ประธานาธิบดีได้ลงนามในกฎหมายภาษีข้าว (The Rice Tariffication Act) เมื่อวันที่ 14กุมภาพันธ์ ที่ผ่านมา ซึ่งจะมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 5 มีนาคม เป็นต้นไปนั้น จะทำให้ผู้ค้าเอกชนสามารถที่จะนำเข้าข้าว
ได้อย่างเสรี โดยผู้นำเข้าจะต้องชำระภาษีนำเข้าในอัตราร้อยละ 35 หากนำเข้าจากกลุ่มประเทศอาเซียน และหากนำเข้าจากแห่งอื่นจะเสียภาษีในอัตราร้อยละ 50 โดยกำหนดปริมาณนำเข้าสูงสุด (the minimum access volume) ไว้ที่ 350,000 ตัน และกำหนดอัตราภาษีสูงสุดไม่เกินร้อยละ 180 โดยรัฐบาลได้คาดหวังว่าการเปิดให้นำเข้าข้าวได้อย่างเสรี
จะช่วยให้ราคาข้าวในประเทศลดต่ำลง และช่วยกระตุ้นให้เกษตรกรหันมาปลูกพืชที่ให้มูลค่าสูง
ขณะที่กฎหมายดังกล่าวจะลดทอนอำนาจการเป็นองค์กรเดียวในการบริหารจัดการข้าวทั้งระบบขององค์การอาหารแห่งชาติ (National Food Authority; NFA) ซึ่งขณะนี้มีพนักงานประมาณ 400 คน ที่อาจจะถูกเลิกจ้าง
ซึ่งอาจส่งผลบุคลากรของ NFA ออกมาประท้วง เพราะคาดว่าจะมีการลดขนาดองค์กรจนกระทบต่อการจ้างงาน โดยหน้าที่ของ NFA จะเหลือเพียงเป็นหน่วยงานดูแลปริมาณข้าวสำรอง (Buffer Stock) สำหรับช่วงภัยพิบัติและภาวะฉุกเฉินเท่านั้น
ทางด้านกระทรวงเกษตรสหรัฐฯ (USDA) รายงานว่า กฎหมายภาษีข้าว (The Rice Tariffication Act) (REPUBLIC ACT NO. 11203 : AN ACT LIBERALIZING THE IMPORTATION, EXPORTATION AND TRADING OF RICE, LIFTING FOR THE PURPOSE THE QUANTITATIVE IMPORT RESTRICTION ON RICE, AND FOR OTHER PURPOSES) ที่ประธานาธิบดีได้ลงนามไป เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ที่ผ่านมานั้น มีสาระสำคัญ ดังนี้
1. กำหนดปริมาณนำเข้าสูงสุด (the minimum access volume; MAV) ไว้ที่ปีละ 350,000 ตัน จากเดิม 805,000 ตัน
2. อัตราภาษีในโควต้า (In-quota Most Favored Nation; MFN) กำหนดที่ร้อยละ 35
3. อัตราภาษีนอกโตวต้า (out-quota imports) อยู่ระหว่างร้อยละ 50-180
4. อัตราภาษีนำเข้าสำหรับข้าวที่นำเข้าจากประเทศอาเซียน (the Association of Southeast Asian Nations; ASEAN) ที่ร้อยละ 35
5. ภาษีที่ได้จากการนำเข้าข้าวจะนำไปตั้งกองทุน Rice Competitiveness Enhancement Fund (RCEF) ซึ่งกำหนดให้มีเงินเข้ากองทุนขั้นต่ำปีละ 10,000 ล้านเปโซ (หรือประมาณ 192.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ) ภายในระยะเวลา 6 ปี ข้างหน้า
6. จะมีการกำหนดมาตรการความคุ้มครองพิเศษ (special rice safeguard duty) เพื่อคุ้มครองอุตสาหกรรมจากความผันผวนของราคาอย่างรุนแรงหรือฉับพลัน
7. บทบาทขององค์การอาหารแห่งชาติ (National Food Authority; NFA) จะถูกจำกัดไว้เฉพาะการสำรองข้าว
8. การดำเนินการตามบทบัญญัติของกฎหมายนี้ จะมีการออกกฎและข้อบังคับ (IRRs) ที่เกี่ยวข้องภายใน 45 วัน
ทางด้านผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในวงการข้าวหลายราย คาดว่าการออกกฎหมายดังกล่าว จะทำให้การนำเข้าข้าวเพิ่มขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่จะมาจากประเทศในกลุ่มอาเซียน ขณะที่กฎหมายภาษีข้าวอาจจะถูกคัดค้านอย่างรุนแรง จากบางภาคส่วน โดยอาศัยข้อกฎหมายต่างๆ ในรูปแบบของการฟ้องร้องในอนาคตอันใกล้
ขณะที่ธนาคารกลางฟิลิปปินส์ (The Bangko Sentral ng Pilipinas) คาดว่ากฎหมายภาษีข้าวจะช่วยลดอัตราเงินเฟ้อลงอย่างน้อยร้อยละ 0.6 ในปีนี้ และลดลงร้อยละ 0.3-0.4 ในปี 2563 ซึ่งราคาอาหารที่เพิ่มขึ้นโดยเฉพาะข้าว ถือว่า เป็นส่วนสำคัญในการทำให้อัตราเงินเฟ้อพุ่งสูงสุดที่ร้อยละ 6.7 ในเดือนตุลาคม 2561 ซึ่งเป็นระดับที่สูงที่สุดในรอบเกือบทศวรรษ โดยอัตราเงินเฟ้อโดยเฉลี่ย ในปี 2561 อยู่ที่ร้อยละ 5.2 เพิ่มขึ้นเป็นระดับร้อยละ 2.9 จากปีที่ผ่านมา และสูงกว่า
ที่รัฐบาลฟิลิปปินส์ได้ตั้งเป้าหมายเงินเฟ้อใน ปี 2561 ไว้ที่ร้อยละ 2-4
ที่มา สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
1.1 การตลาด
มาตรการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าวปีการผลิต 2561/62
มติที่ประชุม คณะกรรมการนโยบายและบริหารจัดการข้าว (นบข.) ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2561 เห็นชอบในหลักการมาตรการฯ ด้านการผลิตและการตลาด ทั้งหมด10 โครงการดังนี้
(1) ด้านการผลิต*ได้แก่
1) โครงการส่งเสริมระบบการเกษตรแบบนาแปลงใหญ่ (นาแปลงใหญ่)
2) โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวอินทรีย์
3) โครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง
4) โครงการส่งเสริมระบบการเกษตรแบบแม่นยำสูง (Precision Farming)
5) โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพชั้นเลิศ
6) โครงการส่งเสริมการผลิตและการตลาดข้าวพันธุ์ กข 43 เพื่อสุขภาพแบบครบวงจร
7) โครงการปรับเปลี่ยนระบบการผลิตข้าวในพื้นที่ลุ่มต่ำ 13 ทุ่ง
หมายเหตุ * ด้านการผลิต เป็นโครงการที่หน่วยงานดำเนินการตามปกติ จึงไม่นำเข้าที่ประชุม ครม.พิจารณามาตรการฯ
(2) ด้านการตลาด
- มติที่ประชุม คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2561 อนุมัติการดำเนินโครงการและวงเงินงบประมาณที่ใช้ช่วยเหลือเกษตรกรและรักษาเสถียรภาพราคาข้าว ปีการผลิต 2561/62 ด้านการตลาด จำนวน 3 โครงการ ได้แก่ โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือกนาปีและการช่วยเหลือค่าเก็บเกี่ยวและปรับปรุงคุณภาพข้าว
2) โครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร และ 3) โครงการชดเชยดอกเบี้ยให้ผู้ประกอบการค้าข้าวในการเก็บสต็อก
- มติที่ประชุม คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 11กันยายน 2561 อนุมัติทบทวนมาตรการรักษาเสถียรภาพราคาข้าว ปีการผลิต 2561/62 โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2561/61 ตามมติคณะกรรมการนบข. เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2561 ที่กระทรวงพาณิชย์เสนอดังนี้
(1) กรณีเกษตรกรฝากเก็บข้าวไว้ที่สหกรณ์หรือสถาบันเกษตรกร ให้ปรับปรุงให้ค่าเก็บรักษาข้าวเปลือก
(2) เกษตรกรและสถาบันเกษตรกร ต้องเก็บรักษาข้าวเปลือกหลักประกันไว้ในยุ้งฉางหรือสถานที่เก็บของตนเองเท่านั้น
(3) ปรับปรุงวิธีการเก็บรักษาข้าวเปลือกของสถาบันเกษตรกร ต้องเก็บรักษาข้าวเปลือกโดยบรรจุข้าวเปลือกในกระสอบป่านหรือถุง Big bag และวางเรียงในยุ้งฉางหรือสถานที่เก็บเพื่อสะดวกในการตรวจสอบ หรือเก็บข้าวในยุ้งฉางที่ยกพื้นสูงหรือไซโล (SILO) ยกเว้นกรณีเทกองจะต้องมีระบบการระบายอากาศ เพื่อการรักษาคุณภาพข้าวเปลือกไม่ให้เสื่อมสภาพตลอดระยะเวลาโครงการ
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิสัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 15,723 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,632 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.58
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 7,542 บาท ราคาลดลงจากตันละ 7,652 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.44
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 34,050 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 11,290 บาท ราคาลดลงจากตันละ 11,350 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.53
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 1,171 ดอลลาร์สหรัฐฯ (36,399 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 1,180 ดอลลาร์สหรัฐฯ (36,502 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.76 และลดลงในรูปเงินบาท ตันละ 103 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 402 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,496 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 412 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,745 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.43 และลดลงในรูปเงินบาท ตันละ 249 บาท
ข้าวขาว 25% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 395 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,278 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 404 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,497 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.23 และลดลงในรูปเงินบาท ตันละ 219 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 409 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,713 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 415 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,838 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.45 และลดลงในรูปเงินบาท ตันละ 125 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 31.0837
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
เวียดนาม
ภาวะราคาข้าวขาว 5% เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา ทรงตัวอยู่ในระดับ 340 เหรียญสหรัฐต่อตัน ท่ามกลางภาวะที่อุปทานข้าวในตลาดมีมากขึ้น จากการที่เกษตรกรกำลังเก็บเกี่ยวผลผลิตข้าวในฤดูการผลิตฤดูหนาวในเขต
ที่ราบลุ่มแม่น้ำโขง ขณะที่ความต้องการข้าวเริ่มมีเข้ามาจากประเทศจีน
มีรายงานว่า หลังจากที่มีการประชุมหารือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงเกษตร (the Ministry of Agriculture and Rural Development) กระทรวงการค้าและอุตสาหกรรม (the Ministry of Industry and Trade) ธนาคารแห่งชาติ (the State Bank of Vietnam; SBV) รวมทั้งสมาคมอาหารเวียดนาม (the Vietnam Food Association) นายกรัฐมนตรี Nguyen Xuan Phuc ได้อนุมัติข้อเสนอมาตรการรับซื้อข้าวจากเกษตรกรประมาณ 280,000 ตัน เพื่อเก็บสต็อกไว้และช่วยพยุงราคาข้าวในเขตที่ราบลุ่มแม่น้ำโขง (the Mekong Delta region)
ซึ่งเป็นแหล่งผลิตข้าวที่สำคัญของประเทศไม่ให้ลดต่ำลง โดยจะซื้อข้าวเปลือก 80,000 ตัน และข้าวสาร 200,000 ตัน นอกจากนี้ สมาคมอาหารฯ จะเร่งเก็บสต็อกข้าวเพื่อเตรียมส่งออกไปยังประเทศฟิลิปปินส์ประมาณ 200,000 ตัน และ จีนประมาณ 100,000 ตัน
ขณะที่มีการรายงาน เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2562 บริษัท Vinafood 2 (the Vietnam Southern Food Corporation) ได้ลงนามในบันทึกความเข้าใจ (a memorandum of understanding; MoU) ในการซื้อขายข้าวจำนวน 100,000 ตัน กับบริษัทนำเข้าข้าวของจีน (Food Valley of China; FVC) ประกอบด้วย ข้าวเหนียวจำนวน 30,000 ตัน และข้าวขาวจำนวน 70,000 ตัน โดยคาดว่าจะมีการส่งมอบในช่วงครึ่งแรกของปีนี้ ทั้งนี้ เมื่อปีที่ผ่านมาเวียดนามส่งออกข้าวไปประเทศจีนประมาณ 1.3 ล้านตัน และหลังจากที่มีข่าวว่ารัฐบาลจะมีมาตรการรับซื้อข้าวเพื่อเก็บสต็อกไว้ ส่งผลให้ราคาข้าวเปลือกในเขตที่ราบลุ่มแม่น้ำโขงเริ่มขยับสูงขึ้น โดยเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ ราคาข้าวเปลือกได้ปรับตัวสูงขึ้นประมาณ 100-150 ดองต่อกิโลกรัม มาอยู่ที่ 4,400-5,500 ดองต่อกิโลกรัม ขณะที่บริษัท VietNam Southern Food Corporation (VINAFOOD 2) ได้ส่งเจ้าหน้าที่ จำนวน 12 ราย ลงพื้นที่เพื่อซื้อข้าวเปลือกฤดูการผลิตฤดูหนาว-ฤดูใบไม้ผลิต (winter-spring rice crop) ในพื้นที่สามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง ขณะที่สมาคมอาหารเวียดนามได้เสนอความช่วยเหลือทางการเงินสำหรับการซื้อข้าวเปลือกด้วย
กระทรวงเกษตร (the Ministry of Agriculture and Rural Development; MARD) กำลังพิจารณาแผนการผลิตและการส่งออกข้าวของประเทศในอนาคต โดยในช่วงระหว่างปี 2554-2560 เวียดนามส่งออกข้าวประมาณปีละ 5-7
ล้านตัน มูลค่าประมาณ 2.5-3.5 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยที่ตลาดหลัก คือ ตลาดเอเชีย คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 70 ประเทศจีนมีสัดส่วนนำเข้าประมาณร้อยละ 35 รองลงมาเป็นฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ขณะที่ตลาดแอฟริกามีสัดส่วนนำเข้าประมาณร้อยละ 28
อย่างไรก็ตาม กระทรวงเกษตรมองว่าการส่งออกข้าวยังคงมีความเสี่ยงและไม่แน่นอนจากภาวการณ์แข่งขัน ที่รุนแรงกับประเทศคู่แข่ง เช่น ไทย อินเดีย ดังนั้นรัฐบาลจึงต้องพิจารณาเรื่องการส่งออกอีกครั้ง โดยจะลดปริมาณส่งออกและเพิ่มมูลค่าส่งออกให้มากขึ้น
ทั้งนี้ รัฐบาลได้กำหนดแผนการส่งออกในช่วงปี 2560-2563 โดยกำหนดเป้าหมายการส่งออก 4.5-5 ล้านตัน มูลค่าประมาณ 2.2-2.3 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ และในช่วงปี 2564-2573 กำหนดเป้าหมายการส่งออก 4 ล้านตัน มูลค่าประมาณ 2.3- 2.5 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งการจะบรรลุเป้าหมายดังกล่าวนั้น จะต้องมีการลดการผลิตข้าวคุณภาพต่ำถึงปานกลาง ให้คงเหลือประมาณร้อยละ 20 ของผลผลิตทั้งหมด และเปลี่ยนไปปลูกข้าวขาวคุณภาพสูงในสัดส่วนเพิ่มขึ้นร้อยละ 25 ของผลผลิตทั้งหมด ส่วนของข้าวหอม ข้าวญี่ปุ่น และข้าวชนิดพิเศษ ในสัดส่วนร้อยละ 30 และข้าวเหนียวในสัดส่วนร้อยละ 20 ส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 5 เป็นผลิตภัณฑ์ข้าวที่มีการเพิ่มมูลค่า เช่น ข้าวที่เน้นด้านโภชนาการ ข้าวนึ่ง และข้าวอินทรีย์ เป็นต้น โดยตั้งเป้าหมายว่าหลังจากปี 2573 สัดส่วนการผลิตข้าวคุณภาพต่ำจะมีเพียงร้อยละ 10 เท่านั้น
ในปี 2562 นี้ กระทรวงเกษตร (Ministry of Agriculture and Rural Development) ได้ตั้งเป้าหมายส่งออกข้าวไว้ที่ 6-7 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา ที่ส่งออกได้ประมาณ 6.1 ล้านตัน มูลค่าประมาณ 3.1 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยในเดือนมกราคมที่ผ่านมา เวียดนามส่งออกข้าวได้ประมาณ 373,000 ตัน มูลค่า 180 ล้าน เหรียญสหรัฐฯ ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา ประมาณร้อยละ 24.2 และร้อยละ 24.8 ตามลำดับ
ที่มา สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
ฟิลิปปินส์
รัฐบาลฟิลิปปินส์ยอมรับว่าเป้าหมายการพึ่งพาผลผลิตข้าวในประเทศ (rice self-sufficiency) ให้ได้ถึงร้อยละ 100 โดยไม่ต้องมีการนำเข้านั้น ยังไม่สามารถบรรลุเป้าหมายได้ โดยในปี 2561 ที่ผ่านมา รัฐบาลได้ตั้งเป้าหมายดังกล่าวไว้ แต่หากพิจารณาจากปัจจัยรอบด้านแล้วสามารถทำได้เพียงร้อยละ 93 เท่านั้น ซึ่งเมื่อพิจารณาจากภาวะการผลิตข้าวในปัจจุบันจะพบว่า ฟิลิปปินส์ยังคงมีความต้องการข้าวปีละประมาณ 600,000-800,000 ตัน เพื่อให้เพียงพอกับความต้องการบริโภคในประเทศ
ทั้งนี้ จากการที่ประธานาธิบดีได้ลงนามในกฎหมายภาษีข้าว (The Rice Tariffication Act) เมื่อวันที่ 14กุมภาพันธ์ ที่ผ่านมา ซึ่งจะมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 5 มีนาคม เป็นต้นไปนั้น จะทำให้ผู้ค้าเอกชนสามารถที่จะนำเข้าข้าว
ได้อย่างเสรี โดยผู้นำเข้าจะต้องชำระภาษีนำเข้าในอัตราร้อยละ 35 หากนำเข้าจากกลุ่มประเทศอาเซียน และหากนำเข้าจากแห่งอื่นจะเสียภาษีในอัตราร้อยละ 50 โดยกำหนดปริมาณนำเข้าสูงสุด (the minimum access volume) ไว้ที่ 350,000 ตัน และกำหนดอัตราภาษีสูงสุดไม่เกินร้อยละ 180 โดยรัฐบาลได้คาดหวังว่าการเปิดให้นำเข้าข้าวได้อย่างเสรี
จะช่วยให้ราคาข้าวในประเทศลดต่ำลง และช่วยกระตุ้นให้เกษตรกรหันมาปลูกพืชที่ให้มูลค่าสูง
ขณะที่กฎหมายดังกล่าวจะลดทอนอำนาจการเป็นองค์กรเดียวในการบริหารจัดการข้าวทั้งระบบขององค์การอาหารแห่งชาติ (National Food Authority; NFA) ซึ่งขณะนี้มีพนักงานประมาณ 400 คน ที่อาจจะถูกเลิกจ้าง
ซึ่งอาจส่งผลบุคลากรของ NFA ออกมาประท้วง เพราะคาดว่าจะมีการลดขนาดองค์กรจนกระทบต่อการจ้างงาน โดยหน้าที่ของ NFA จะเหลือเพียงเป็นหน่วยงานดูแลปริมาณข้าวสำรอง (Buffer Stock) สำหรับช่วงภัยพิบัติและภาวะฉุกเฉินเท่านั้น
ทางด้านกระทรวงเกษตรสหรัฐฯ (USDA) รายงานว่า กฎหมายภาษีข้าว (The Rice Tariffication Act) (REPUBLIC ACT NO. 11203 : AN ACT LIBERALIZING THE IMPORTATION, EXPORTATION AND TRADING OF RICE, LIFTING FOR THE PURPOSE THE QUANTITATIVE IMPORT RESTRICTION ON RICE, AND FOR OTHER PURPOSES) ที่ประธานาธิบดีได้ลงนามไป เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ที่ผ่านมานั้น มีสาระสำคัญ ดังนี้
1. กำหนดปริมาณนำเข้าสูงสุด (the minimum access volume; MAV) ไว้ที่ปีละ 350,000 ตัน จากเดิม 805,000 ตัน
2. อัตราภาษีในโควต้า (In-quota Most Favored Nation; MFN) กำหนดที่ร้อยละ 35
3. อัตราภาษีนอกโตวต้า (out-quota imports) อยู่ระหว่างร้อยละ 50-180
4. อัตราภาษีนำเข้าสำหรับข้าวที่นำเข้าจากประเทศอาเซียน (the Association of Southeast Asian Nations; ASEAN) ที่ร้อยละ 35
5. ภาษีที่ได้จากการนำเข้าข้าวจะนำไปตั้งกองทุน Rice Competitiveness Enhancement Fund (RCEF) ซึ่งกำหนดให้มีเงินเข้ากองทุนขั้นต่ำปีละ 10,000 ล้านเปโซ (หรือประมาณ 192.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ) ภายในระยะเวลา 6 ปี ข้างหน้า
6. จะมีการกำหนดมาตรการความคุ้มครองพิเศษ (special rice safeguard duty) เพื่อคุ้มครองอุตสาหกรรมจากความผันผวนของราคาอย่างรุนแรงหรือฉับพลัน
7. บทบาทขององค์การอาหารแห่งชาติ (National Food Authority; NFA) จะถูกจำกัดไว้เฉพาะการสำรองข้าว
8. การดำเนินการตามบทบัญญัติของกฎหมายนี้ จะมีการออกกฎและข้อบังคับ (IRRs) ที่เกี่ยวข้องภายใน 45 วัน
ทางด้านผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในวงการข้าวหลายราย คาดว่าการออกกฎหมายดังกล่าว จะทำให้การนำเข้าข้าวเพิ่มขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่จะมาจากประเทศในกลุ่มอาเซียน ขณะที่กฎหมายภาษีข้าวอาจจะถูกคัดค้านอย่างรุนแรง จากบางภาคส่วน โดยอาศัยข้อกฎหมายต่างๆ ในรูปแบบของการฟ้องร้องในอนาคตอันใกล้
ขณะที่ธนาคารกลางฟิลิปปินส์ (The Bangko Sentral ng Pilipinas) คาดว่ากฎหมายภาษีข้าวจะช่วยลดอัตราเงินเฟ้อลงอย่างน้อยร้อยละ 0.6 ในปีนี้ และลดลงร้อยละ 0.3-0.4 ในปี 2563 ซึ่งราคาอาหารที่เพิ่มขึ้นโดยเฉพาะข้าว ถือว่า เป็นส่วนสำคัญในการทำให้อัตราเงินเฟ้อพุ่งสูงสุดที่ร้อยละ 6.7 ในเดือนตุลาคม 2561 ซึ่งเป็นระดับที่สูงที่สุดในรอบเกือบทศวรรษ โดยอัตราเงินเฟ้อโดยเฉลี่ย ในปี 2561 อยู่ที่ร้อยละ 5.2 เพิ่มขึ้นเป็นระดับร้อยละ 2.9 จากปีที่ผ่านมา และสูงกว่า
ที่รัฐบาลฟิลิปปินส์ได้ตั้งเป้าหมายเงินเฟ้อใน ปี 2561 ไว้ที่ร้อยละ 2-4
ที่มา สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดภายในประเทศในช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5 % สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.01 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.00 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.13 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5 % สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.61 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อสัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ9.32 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 9.52 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.10 และราคาขายส่งไซโลรับซื้อสัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.49 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 8.76 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.08
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 309.80 ดอลลาร์สหรัฐ (9,630 บาท/ตัน) ลดลงจากตันละ 318.50 ดอลลาร์สหรัฐ (9,852 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.73 และลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 222 บาท
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนมีนาคม 2562 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 367.48 เซนต์ (4,558 บาท/ตัน) ลดลงจากบุชเชลละ 372.55 เซนต์ (4,537 บาท/ตัน)ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.36 แต่เพิ่มขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 21 บาท
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลัง ปี 2562 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2561 – กันยายน 2562) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.40 ล้านไร่ ผลผลิต 29.97 ล้านตัน ผลผลลิตต่อไร่ 3.57 ตัน เมื่อเทียบกับปี 2561 ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.03 ล้านไร่ ผลผลิต 27.88 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3.47 ตัน พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ สูงขึ้นร้อยละ 4.61 ร้อยละ 7.50 และร้อยละ 2.88 ตามลำดับ โดยเดือนกุมภาพันธ์ 2562 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 7.48 ล้านตัน (ร้อยละ 24.96 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2562 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2562 ปริมาณ 20.08 ล้านตัน (ร้อยละ 67 ของผลผลิตทั้งหมด)
การตลาด
หัวมันสำปะหลังออกสู่ตลาดเพิ่มขึ้น แต่ราคามันสำปะหลังยังอยู่ในเกณฑ์สูง ทำให้ลานมันเส้น
เปิดดำเนินการไม่มาก เนื่องจากเมื่อผลิตเป็นมันเส้นแล้วไม่คุ้มกับการลงทุน ส่งผลให้หัวมันสำปะหลังส่วนใหญ่ไหลเข้าสู่โรงงานแป้งมันสำปะหลัง
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2.22 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 2.21 บาท ในสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 0.45
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.09 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.16 บาท ในสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 1.36
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต กรุงเทพและปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.49 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 13.45 บาท ในสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 0.30
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 215 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,683 บาทต่อตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 210 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,497 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 2.38
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2562 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนกุมภาพันธ์จะมีประมาณ 1.572 ล้านตันคิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.283 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.520 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.274 ล้านตัน ของเดือนมกราคม คิดเป็นร้อยละ 3.42 และร้อยละ 3.29 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 2.38 บาท ลดลงจาก กก.ละ 2.53 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 5.93
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 15.58 บาท ลดลงจาก กก.ละ 16.19 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 3.77
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบของมาเลเซียปรับตัวลดลง
ราคาน้ำมันปาล์มดิบซื้อขายล่วงหน้าตลาดมาเลเซียส่งมอบในเดือนพฤษภาคม 2562 ปรับตัวลดลงอยู่ที่ 2,212 ริงกิตต่อตัน (544.16 ดอลลาร์สหรัฐฯ) ลดลงร้อยละ 2 เนื่องจากค่าเงินริงกิตของมาเลเซียแข่งค่าขึ้น ส่งผลให้ราคาซื้อขายล่วงหน้าตลาดมาเลเซียปรับตัวลดลง ในขณะที่ผลผลิตปาล์มน้ำมันของมาเลเซียในเดือนมกราคมปริมาณผลผลิตอยู่ที่ 1.74 ล้านตัน ลดลงร้อยละ 3.5 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของเดือนที่ผ่านมา สำหรับการส่งออกน้ำมันปาล์มดิบของมาเลเซียในช่วง 25 วันแรกของเดือนกุมภาพันธ์ลดลงร้อยละ 6 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของเดือนที่ผ่านมา เนื่องจากจีนได้หันไปซื้อน้ำมันพืชถั่วเหลืองจึงลดการนำเข้าน้ำมันปาล์มดิบ อย่างไรก็ตาม คาดว่าราคาน้ำมันปาล์มดิบของมาเลเซียอยู่ที่ระดับ 2,214 -2,327 ริงกิตต่อตัน
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,996.18 ดอลลาร์มาเลเซีย (15.58 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 2,170.82 ดอลลาร์มาเลเซีย (16.86 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 8.04
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 552.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (17.39 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 567.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (17.78 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.65
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน
อ้อยและน้ำตาล
ถั่วเหลือง
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 16.71 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 17.00 บาท
ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.71
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ(ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ905.24 เซนต์ (10.48บาท/กก.) ลดลงจาก บุชเชลละ 905.35 เซนต์ (10.43 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.01
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 304.30 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.59บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 305.75 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.59 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.47
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 30.14เซนต์ (20.93บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 30.04 เซนต์ (20.76 บาท/กก.)ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.33
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 16.71 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 17.00 บาท
ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.71
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ(ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ905.24 เซนต์ (10.48บาท/กก.) ลดลงจาก บุชเชลละ 905.35 เซนต์ (10.43 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.01
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 304.30 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.59บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 305.75 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.59 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.47
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 30.14เซนต์ (20.93บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 30.04 เซนต์ (20.76 บาท/กก.)ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.33
ยางพารา
สับปะรด
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.26 บาท สูงขึ้นจากราคากิโลกรัมละ 22.88 บาท
ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 1.66
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ และถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 24.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 25.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 14.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 899.60 ดอลลาร์สหรัฐ (27.96 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 903.50 ดอลลาร์สหรัฐ (27.95 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.43 แต่สูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 802.40 ดอลลาร์สหรัฐ (24.94 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 806.00 ดอลลาร์สหรัฐ (24.93 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.45 แต่สูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 835.00 ดอลลาร์สหรัฐ (25.95 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 838.25 ดอลลาร์สหรัฐ (25.93 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.39 แต่สูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 478.80 ดอลลาร์สหรัฐ (14.88 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 481.00 ดอลลาร์สหรัฐ (14.88 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.46 แต่ในรูปเงินบาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 925.40 ดอลลาร์สหรัฐ (28.76 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 929.50 ดอลลาร์สหรัฐ (28.76 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.44 แต่สูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.26 บาท สูงขึ้นจากราคากิโลกรัมละ 22.88 บาท
ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 1.66
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ และถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 24.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 25.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 14.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 899.60 ดอลลาร์สหรัฐ (27.96 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 903.50 ดอลลาร์สหรัฐ (27.95 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.43 แต่สูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 802.40 ดอลลาร์สหรัฐ (24.94 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 806.00 ดอลลาร์สหรัฐ (24.93 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.45 แต่สูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 835.00 ดอลลาร์สหรัฐ (25.95 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 838.25 ดอลลาร์สหรัฐ (25.93 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.39 แต่สูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 478.80 ดอลลาร์สหรัฐ (14.88 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 481.00 ดอลลาร์สหรัฐ (14.88 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.46 แต่ในรูปเงินบาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 925.40 ดอลลาร์สหรัฐ (28.76 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 929.50 ดอลลาร์สหรัฐ (28.76 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.44 แต่สูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.75 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 49.59 บาท
ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.69
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.98 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 26.15 บาท
ของสัปดาห์ก่อนร้อย 8.30
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 60.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 51.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.75 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 49.59 บาท
ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.69
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.98 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 26.15 บาท
ของสัปดาห์ก่อนร้อย 8.30
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 60.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 51.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ฝ้าย
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้
ราคาฝ้ายรวมเมล็ดชนิดคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาฝ้ายรวมเมล็ดชนิดคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาซื้อ-ขายล่วงหน้าตลาดนิวยอร์ก (New York Cotton Futures)
ราคาซื้อ-ขายล่วงหน้า เพื่อส่งมอบเดือนพฤษภาคม 2562 สัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 72.66 เซนต์(กิโลกรัมละ 50.47 บาท) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 70.78 เซนต์ (กิโลกรัมละ 48.93 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.66และสูงขึ้นในรูปของเงินบาทกิโลกรัมละ 1.54 บาท
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,704 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,628 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 4.67
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,421 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,332 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 6.68
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 842 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,421 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,332 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 6.68
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 842 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ในสัปดาห์นี้ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ลดลงเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการบริโภคเนื้อสุกรอ่อนตัวลงเล็กน้อย จากสถานศึกษาต่างๆ ทยอยปิดภาคเรียน แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือลดลงเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 66.60 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 67.18 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.86 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 66.38 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 61.69 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 67.80 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 69.15 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 2,100 บาท (บวกลบ 70 บาท) ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 73.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ในสัปดาห์นี้ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ลดลงเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการบริโภคเนื้อสุกรอ่อนตัวลงเล็กน้อย จากสถานศึกษาต่างๆ ทยอยปิดภาคเรียน แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือลดลงเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 66.60 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 67.18 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.86 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 66.38 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 61.69 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 67.80 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 69.15 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 2,100 บาท (บวกลบ 70 บาท) ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 73.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดไก่เนื้อสัปดาห์นี้ ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้ค่อนข้างทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตไก่เนื้อออกสู่ตลาดใกล้เคียงกับความต้องการบริโภคที่มีไม่มากนัก แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 36.86 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 36.81 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.14 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 35.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 36.79 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 39.86 บาท และภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 11.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.50 บาท และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 47.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ภาวะตลาดไก่เนื้อสัปดาห์นี้ ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้ค่อนข้างทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตไก่เนื้อออกสู่ตลาดใกล้เคียงกับความต้องการบริโภคที่มีไม่มากนัก แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 36.86 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 36.81 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.14 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 35.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 36.79 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 39.86 บาท และภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 11.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.50 บาท และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 47.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ในสัปดาห์นี้ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดหลักของไข่ไก่ คือ สถานศึกษาทยอยปิดภาคเรียน ส่งผลให้ภาวะตลาดไข่ไก่เริ่มเงียบเหงา แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะลดลงเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 271 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 275 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.45 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 296 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 281 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 261 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 15.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0-4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ271 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ในสัปดาห์นี้ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดหลักของไข่ไก่ คือ สถานศึกษาทยอยปิดภาคเรียน ส่งผลให้ภาวะตลาดไข่ไก่เริ่มเงียบเหงา แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะลดลงเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 271 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 275 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.45 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 296 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 281 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 261 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 15.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0-4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ271 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 332 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 327 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.53 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 363 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 332 บาท ภาคกลาง ร้อยฟองละ 317 บาท และภาคใต้ ร้อยฟองละ 344 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 340 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 332 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 327 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.53 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 363 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 332 บาท ภาคกลาง ร้อยฟองละ 317 บาท และภาคใต้ ร้อยฟองละ 344 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 340 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 88.52 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 88.49 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.03 แยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 89.75บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 85.20 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 84.32 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 101.72 บาท
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 88.52 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 88.49 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.03 แยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 89.75บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 85.20 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 84.32 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 101.72 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 69.16 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 69.20 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.06 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 90.72 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 65.01 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงานราคา
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 69.16 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 69.20 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.06 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 90.72 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 65.01 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงานราคา
ประมง
1. สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
การผลิต
เปลี่ยนถ่ายกระชังลูกใหม่หรือเพิ่มออกซิเจนในน้ำนช่วงดังกล่าวเป็นช่วงที่น้ำตาย โดยเฉพาะในช่วงกลางคืนบวกกับออกซิเจนในน้ำค่อนในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 22 – 28 กุมภาพันธ์ 2562) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้ คือ
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3-4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 47.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 45.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 2.00 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯเฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 85.85 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 87.74 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.89 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 120.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัมเฉลี่ยกิโลกรัมละ160.25 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 165.17 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 4.92 บาท
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม เฉลี่ยกิโลกรัมละ 151.67 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 166.67 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 15.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาปลาทูสดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 79.16 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 76.88 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 2.28 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 85.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาปลาหมึกกระดองสดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 110.00 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 140.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 30.00 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 260.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 208.6 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 51.4 บาท
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.41 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 8.45 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.04 บาท
สำหรับราคาขายส่งปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% (ระหว่างวันที่ 22-28 กุมภาพันธ์ 2562) ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 25.83 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 26.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.17 บาท
1. สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
การผลิต
เปลี่ยนถ่ายกระชังลูกใหม่หรือเพิ่มออกซิเจนในน้ำนช่วงดังกล่าวเป็นช่วงที่น้ำตาย โดยเฉพาะในช่วงกลางคืนบวกกับออกซิเจนในน้ำค่อนในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 22 – 28 กุมภาพันธ์ 2562) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้ คือ
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3-4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 47.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 45.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 2.00 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯเฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 85.85 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 87.74 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.89 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 120.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัมเฉลี่ยกิโลกรัมละ160.25 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 165.17 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 4.92 บาท
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม เฉลี่ยกิโลกรัมละ 151.67 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 166.67 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 15.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาปลาทูสดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 79.16 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 76.88 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 2.28 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 85.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาปลาหมึกกระดองสดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 110.00 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 140.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 30.00 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 260.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 208.6 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 51.4 บาท
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.41 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 8.45 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.04 บาท
สำหรับราคาขายส่งปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% (ระหว่างวันที่ 22-28 กุมภาพันธ์ 2562) ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 25.83 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 26.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.17 บาท